1 / 127

ระบบการติดตามสถานการณ์เอดส์ของประเทศ

ระบบการติดตามสถานการณ์เอดส์ของประเทศ. น.พ. คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ระบบเฝ้าระวังปัญหาเอดส์. ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ (Passive AIDS reporting system: รายงาน 506/1) ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี (HIV sentinel sero-surveillance)

Download Presentation

ระบบการติดตามสถานการณ์เอดส์ของประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการติดตามสถานการณ์เอดส์ของประเทศระบบการติดตามสถานการณ์เอดส์ของประเทศ น.พ. คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. ระบบเฝ้าระวังปัญหาเอดส์ระบบเฝ้าระวังปัญหาเอดส์ • ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์(Passive AIDS reporting system: รายงาน 506/1) • ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี(HIV sentinel sero-surveillance) • ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ เอ็ชไอวี (Behavioral surveillance: BSS) • ระบบเฝ้าระวังเด็กที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอ็ชไอวี (PHOMS)

  3. 1. ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย • พ.ศ. 2526 จัดตั้งระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วย • ปี พ.ศ. 2527- สิงหาคม 2534 รายงานทั้ง 3 กลุ่ม คือ Asymptomatic HIV or HIV infection, ARC (AIDS Related Complex) และ Full blown AIDS พร้อมกับสอบสวนโรค • สิงหาคม 2534- กันยายน 2536 รายงาน 2 กลุ่ม คือ ARC และ AIDS พร้อมกับให้ยกเลิกการสอบสวนโรค • ตุลาคม 2536-2546 รายงาน 2 กลุ่ม คือ Symptomatic HIV Patient (เปลี่ยนจาก ARC) และ AIDS โดยใช้โปรแกรม AIDS506 บันทึกข้อมูล • มกราคม 2547-ธันวาคม 2548 รายงานเฉพาะ AIDS • มกราคม 2549 รายงานเฉพาะ AIDS แต่เก็บข้อมูลตั้งแต่ทราบการติดเชื้อ HIV โดยใช้โปรแกรม AIDSOI บันทึกข้อมูลพร้อมกันทั่วประเทศ

  4. รูปแบบของระบบเฝ้าระวังรูปแบบของระบบเฝ้าระวัง เป็น Hospital base และ Registration HIV+ ลงทะเบียน Turn เป็น AIDS ตามนิยามผู้ป่วยเอดส์ พบการติดเชื้อฉวยโอกาส 1 ใน 28 โรค ตามนิยามฯ ฉบับปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 5 หรือเสียชีวิต รายงาน 506/1 รายงาน 507/1

  5. แผนผังระบบรายงานระดับประเทศแผนผังระบบรายงานระดับประเทศ

  6. Reported AIDS Cases by year, Thailand 1984-2007 Number of cases Source: Bureau of Epidemiology, MOPH,Thailand data as of February 28 , 2007

  7. Reported AIDS Cases by age, gender, Thailand 1984-2007 Number of cases Source: Bureau of Epidemiology,MOPH,Thailand data as of February 28, 2007

  8. Risk Factor of AIDS Cases from 1984-2007, Thailand Source: Bureau of Epidemiology,MOPH,Thailand data as of February 28 , 2007

  9. Risk factor of AIDS Cases by year, Thailand 1984-2006 Number of cases Source: Bureau of Epidemiology, MOPH,Thailand data as of July 31 , 2006

  10. Proportion of Opportunistic infection in AIDS Cases Cases reported from 1984 – 2007 % Source: Bureau of Epidemiology,MOPH,Thailand data as of February 28 , 2007

  11. 2. ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวีHIV sentinel sero-surveillance (SSS) วัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายลักษณะการระบาด และติดตามแนวโน้มความชุกของการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย เริ่มครั้งแรกเมื่อเดือนมิ.ย. พ.ศ. 2532 ใน 14 จังหวัด โดยดำเนินการปีละ 2 ครั้ง เดือนมิถุนายนและธันวาคม ครอบคลุมทั่วประเทศในปี พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2538 ดำเนินการปีละครั้งในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 : SSS รอบที่ 25

  12. วิธีการเฝ้าระวัง • รูปแบบ การศึกษาแบบภาคตัดขวาง ( Cross- sectional survey in same • dynamic population ) • ประชากรเป้าหมาย • 1. กลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ • 2. กลุ่มหญิงขายบริการทางเพศ • 3. กลุ่มผู้ติดยาเสพติด • 4. กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค • 5. กลุ่มโลหิตบริจาค • 6. กลุ่มชาวประมง • 7. กลุ่มแรงงานต่างชาติ • 8. กลุ่มชายขายบริการทางเพศ

  13. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด 2532– 2548 , ประเทศไทย ร้อยละ พ.ศ.

  14. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ประเทศไทย

  15. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ประเทศไทย พ.ศ. 2532 - 2549 ร้อยละของความชุกของการติดเชื้อ ปี พ.ศ. (25....) หญิงที่มาฝากครรภ์ หญิงบริการทางเพศตรง หญิงบริการทางเพศแฝง

  16. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ประเทศไทย

  17. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีกลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ จำแนกตามกลุ่มอายุ ประเทศไทย

  18. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีกลุ่มหญิงที่มาฝากครรภ์ จำแนกตามลำดับครรภ์ ประเทศไทย

  19. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ประเทศไทย

  20. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มชายขายบริการทางเพศ ประเทศไทย

  21. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มชายขายบริการทางเพศ จำแนกตามอายุ กลุ่มประเทศไทย

  22. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวี ประเทศไทย ร้อยละ(%)

  23. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี 1. การเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่ (BED) 2.การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวีที่ดื้อต่อยาต้านไวรัส (ARV)3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้อเอ็ชไอวีร่วมกับการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (2nd Generation: HIV& STI & BSS)

  24. การเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่HIV Sero-incidence surveillance (BED) พ.ศ. 2547 เริ่มดำเนินการในกลุ่ม CSW , ANC ในพื้นที่ 24 จังหวัดและกรุงเทพ พ.ศ. 2548 เริ่มดำเนินการในกลุ่มทหารกองประจำการ พ.ศ. 2550 ขยายพื้นที่เฝ้าระวังเป็น 37 จังหวัดและกรุงเทพ และดำเนินการเป็นรอบที่ 3

  25. พื้นที่เฝ้าระวัง • เขต 1 ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร อยุธยา • เขต 2 นครนายก ลพบุรี สิงห์บุรี • เขต 3 ฉะเชิงเทรา ตราด ระยอง • เขต 4 ราชบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์ • เขต 5 นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ • เขต 6 สกลนคร อุดรธานี หนองคาย • เขต 7 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครพนม • เขต 8 ตาก สุโขทัย อุทัยธานี • เขต 9 แพร่ พิษณุโลก พิจิตร • เขต 10 ลำพูน เชียงราย ลำปาง • เขต 11 พังงา สุราษฎร์ธานี ชุมพรภูเก็ต • เขต 12 สงขลา ตรัง ปัตตานี

  26. Type of HIV : B, E, D Cut off OD = 0.8 153 วัน BED SSS BED คืออะไร ?? BED-CEIA= BEDCapture Elisa Immunoassays Prevalence VS Incidence ความชุก VS อุบัติการณ์ รายเก่า + รายใหม่ VS รายใหม่

  27. L E V E L Sensitive EIA Less sensitiveEIA cutoff ~ 153 d Time since infection Concept of Recent Infection Diagnosis

  28. OD > 0.8 ผู้ติดเชื้อรายเก่า OD ≤0.8 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ตัวอย่างเลือดจากการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี(ANC,CSW) HIV + HIV - นำส่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ HIV antibody positive (ยืนยันผล) BED-CEIA วิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาค่าอุบัติการณ์

  29. ผลการดำเนินงาน (1) BED estimated seroconversions

  30. HIV prevalence (%) HIV incidence (% per year) 0.09 (0.05-0.14) 0.07 (0.04-0.10) 0.05 (0.03-0.08) year Median HIV Prevalence and BED Estimated Incidence among ANC Pregnant Women in Sentinel Provinces Sentinel Provinces: 24 provinces and BMA

  31. HIV incidence (% per year) HIV prevalence (%) 0.37 (0.17-0.57) 0.28 (0.15-0.40) 0.09 (0.04-0.15) year Median HIV Prevalence and BED Estimated Incidence among Female Indirect Sex Workers in Sentinel Provinces Sentinel Provinces: 24 provinces and BMA

  32. BED Estimated Incidence among ANC Pregnant Women Categorized by Geographic Areas Middle Northeast 0.18 0.18 0.11 0.06 0.02 0 North South 0.15 0.12 0.10 0.06 0.06 0 HIV incidence (% per year)

  33. การเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีที่ดื้อต่อยาต้านไวรัส“Threshold Survey” to monitor ARV resistance prevalence (ARV)

  34. 4 การเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีที่ดื้อต่อยาต้านไวรัส • พ.ศ. 2548 เริ่มดำเนินการในกลุ่ม CSW ในพืนที่ 24 จังหวัดและกรุงเทพ • พ.ศ. 2550 ดำเนินการรอบที่ 2 และขยายพื้นที่เฝ้าระวัง 37 จังหวัดและกรุงเทพ • Linked anonymous survey • Routinely collected Information: • age • # sexualintercourses of the last night of working • # sexual intercourses without condom used at last night of working • History of HIV diagnosis • History of ARV exposure

  35. การคัดเลือกตัวอย่าง HIV positive sera of female sex workers from HIV sero-surveillance, eligibility criteria for ARV resistance testing include: • BED-CEIA positive 28 specimens OR • age ≤ 22 years • confirmed diagnosis of HIV infection by standard HIV tests • Never been tested for HIV • No previous exposure of ARV treatment

  36. Specimen Handling System and Enrollment Sera from the national serosurveillance HIV testing at sentinel sites two aliquots of 0.5ml and 1ml were transferred to be stored at -70°C at NIH HIV + HIV - 3 different HIV tests Confirmed HIV + False HIV + BED-CEIA for incidence surveillance HIV drug resistancetesting

  37. Laboratory Procedure* Sequential selected serum samples Ultracentrifugation at 23,600 x g  for 60minutes NucleoSpin Viral RNA extraction Genotypic analysisTruegene (Visible Genetics)

  38. Results of HIV testing Total surveyed sex workers 7,756 Recent HIV infection 28 Confirmed HIV +388 BED-CEIA* Meet inclusion criteria for Threshold Survey 65 * BED-CEIA = BED Captured IgG Immunoassay for diagnosis of recent infection

  39. Results HIVDR Threshold SurveyThailand 2005

  40. Interpretation option I (Inclusion criteria serum sequenced by random selection) 5336: A98G indicates Possible Resistance to DLV K20R, M36I, and L63P indicate Possible Resistance to ATV I13V, K20R, M36I, and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 3646: V179D indicates Possible Resistance to DLV M46L indicates Possible Resistance to IDV M46L indicates Possible Resistance to IDV/r M46L indicates Possible Resistance to RTV M46L indicates Possible Resistance to APV/FPV M46L indicates Possible Resistance to APV/r or FPV/ 5349: A98G indicates Possible Resistance to DLV K20R, M36I, and L63P indicate Possible Resistance to ATV I13V, K20R, M36I, and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 1684: V179D/E indicates Possible Resistance to DLV 2476: M46L indicates Possible Resistance to IDV M46L indicates Possible Resistance to IDV/r M46L indicates Possible Resistance to RTV M46L indicates Possible Resistance to APV/FPV M46L indicates Possible Resistance to APV/r or FPV/r I13V, M36I, M46L, and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r

  41. Interpretation option II(Start on BED+)* 672: L10V, I13V, M36I and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 1776: L10V, I13V, M36I and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 3645: I13V , L33F , M36I , and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 4313: V108I indicates Possible Resistance to DLV L10V , I13V , M36I , and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r 5958: V108I indicates Possible Resistance to DLV L10V , I13V , M36I , and H69K indicate Possible Resistance to TPV/r *BED+ = 28 samples

  42. สรุปผลและข้อเสนอแนะ • ความชุกของการดื้อยาต้านไวรัสของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำ • แนะนำใช้พลาสม่าในการตรวจหาเชื้อดื้อยา • การขยายพื้นที่เฝ้าระวัง

  43. การเฝ้าระวังการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้อเอ็ชไอวี ร่วมกับการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี (2nd Generation surveillance: HIV & STI & BSS)

  44. ประสบการณ์ในการดำเนินงานเฝ้าระวัง second generation ปี 2549 • วิธีการเฝ้าระวัง: • เป็นการสำรวจภาคตัดขวาง (Cross-sectional survey) และบูรณาการกับเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี • จังวัดที่ดำเนินการ • 5 จังหวัด (จังหวัดท่องเที่ยว: เชียงใหม่, เชียงราย, ชลบุรี, สงขลา และภูเก็ต) • วิธีการดำเนินงาน: • ใช้ผลการตรวจต่างๆ (STI: Chlamydia trachomatis (CT), Neisseria gonorrhea (NG) and HIV screening) และการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยใช้ PDA

  45. ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอ็ชไอวีและซิฟิลิสตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอ็ชไอวีและซิฟิลิส • ตรวจปัสสาวะหาเชื้อChlamydia trachomatis (CT), Neisseria gonorrhea(NG) • PDA ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี/STI

  46. ความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มหญิงขายบริการความชุกของการติดเชื้อเอ็ชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มหญิงขายบริการ n = 1,677 Source: STI Cluster, Department of Disease Control

  47. การไม่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดการไม่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด การมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนที่ไม่ประจำใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 39.8% • การไม่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด 2.1% การมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนประจำใน 1 เดือนที่ผ่านมา 39.4% • การไม่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด12.1% การมีเพศสัมพันธ์กับแฟน คนรัก ใน 1 เดือนที่ผ่านมา 40% • การไม่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด 71.4%

  48. การใช้สารเสพติดในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา n = 1,677 Source: STI Cluster, Department of Disease Control

  49. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อ Chlamydia (1)

  50. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อ Chlamydia (2)

More Related