800 likes | 1.56k Views
กระทรวงมหาดไทย กับภารกิจด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย. โดย นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. www.disaster.go.th. กฎหมาย โครงสร้างอำนาจหน้าที่ นโยบายเน้นหนัก ภารกิจ/หน้าที่ ความท้าทาย ผลลัพธ์ที่คาดหวัง.
E N D
กระทรวงมหาดไทย กับภารกิจด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย โดย นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย www.disaster.go.th
กฎหมาย โครงสร้างอำนาจหน้าที่ นโยบายเน้นหนัก ภารกิจ/หน้าที่ ความท้าทาย ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ขอบเขตเนื้อหา
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยDEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATIONMINISTRY OR INTERIOR พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 • มีผลใช้บังคับ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 • ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 (ม.3) • ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2542 (ม.3)
คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ • กำหนดนโยบายในการจัดทำแผนฯ • ให้ความเห็นชอบแผนฯ • บูรณาการพัฒนาระบบป้องกัน • และบรรเทาสาธารณภัย • ให้คำแนะนำ ปรึกษา สนับสนุน • วางระเบียบ ค่าตอบแทน ประธาน - นรม. รอง 1 - รมว.มท. รอง 2 - ปมท. กรรมการ - ปกห/ปพม/ปกษ -ผบเหล่าทัพ-ปคค/ปทส/ปทน/ปสธ -ผู้ทรงคุณวุฒิ-ผสงม-ผสตช-ลสมช - อื่นๆ เลขานุการ - อ.ปภ. คณะอนุกรรมการ องค์ประกอบ หน้าที่
แผนผัง ระบบสั่งการ และปฏิบัติการ ผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (มท.1) รองผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (ป.มท.) ผู้อำนวยการจังหวัด (ผว.จ.)/ผู้อำนวยการ กทม.(ผว.กทม.) รอง ผอ.จ (นายก อบจ.)./รอง ผอ.กทม.(ป.กทม.) นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย สั่งการ ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการกลาง (อ.ปภ.) ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ)/ผู้อำนวยการเขต (ผอ.เขต) ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการท้องถิ่น(นายก อบต./นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา) รองผู้อำนวยการท้องถิ่น(ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน ก่อนเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน/ หน่วยร่วมปฏิบัติการ ขณะเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการหลัก หน่วยบรรเทาทุกข์ หลังเกิดเหตุ
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศโดยมีอำนาจหน้าที่ จัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ จัดให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อหามาตรการในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ปฏิบัติการ ประสานการปฏิบัติ ให้การสนับสนุน และช่วยเหลือ หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงาน ภาคเอกชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและให้การ สงเคราะห์เบื้องต้น แนะนำ ให้คำปรึกษา และอบรมเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
โครงสร้างกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโครงสร้างกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
อัตรากำลังบุคลากร ข้าราชการ 1,835 อัตรา พนักงานราชการ 768 อัตรา ลูกจ้าง 1,818 อัตรา ปภ. รวมทั้งสิ้น 4,421 อัตรา
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553งบประมาณ 2,949,143,700 ล้านบาท งบบุคลากร 12,872,108 บาท 44 % งบรายจ่ายอื่น 1,547,934 บาท 5 % งบเงินอุดหนุน 1,000,810 บาท 3 % . งบลงทุน 10,542,927 บาท 36 % งบดำเนินงาน 3,527,658 บาท 12 % ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ได้รับงบประมาณ 2,315.7839 ล้านบาท
เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมืออุปกรณ์ กรม ปภ. ได้จัดให้มีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ประจำไว้ที่ศูนย์ฯ เขต 1 – 18 และส่วนกลาง จำนวนทั้งสิ้น 3,272 รายการ คิดเป็นมูลค่า 3,038 ล้านบาท จำแนกได้ ดังนี้ 1.จำแนกตามแหล่งที่ได้รับ ได้แก่ (1) กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท (2) กรมการปกครอง (3) กรมการพัฒนาชุมชน (4) กรมประชาสงเคราะห์ (5) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจัดซื้อ
เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมืออุปกรณ์(ต่อ) 2.จำแนกตามสภาพเครื่องจักรกล (1) สภาพใช้งานได้ดี-ดีมาก 735 รายการ (2) สภาพพอใช้ได้ 1,922 รายการ (3) สภาพใช้งานไม่ดี-ใช้ไม่ได้ 615 รายการ 3.จำแนกตามอายุการใช้งาน (1) ช่วงอายุใช้งานต่ำสุด 1 –5 ปี (2) ช่วงอายุใช้งานสูงสุด 21 ปี ขึ้นไป
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้ประเทศไทยเป็นเมืองปลอดภัยน่าอยู่
นโยบายเน้นหนักกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 1. ขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 2. สร้างและปลูกฝังวัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety Culture)ให้แก่ประชาชน 3. บูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน 4. รณรงค์ให้ ปี พ.ศ.2553 เป็นปีแห่งการป้องกันอัคคีภัยในเคหสถานและสถานประกอบการ 5. แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนด้านสาธารณภัยแก่ประชาชนอย่างรวดเร็ว เป็นธรรม และทั่วถึง
วัฏจักรของภัยพิบัติ (Disaster cycle) เกิดภัยพิบัติ (Disaster impact) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) ระหว่างเกิดภัย ก่อนเกิดภัย หลังเกิดภัย การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) การฟื้นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction)
กรอบภารกิจสำคัญรองรับการดำเนินงานตามกฎหมายกรอบภารกิจสำคัญรองรับการดำเนินงานตามกฎหมาย 1. การเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบ 2. การเตรียมพร้อมรับภัย 3. การจัดการภัยในภาวะฉุกเฉิน 4. การจัดการหลังเกิดภัย 5. การประสานความร่วมมือกับ ต่างประเทศ
จัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ 1. การเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 - 2557 ส่วนที่ 2 กระบวนการป้องกันและบรรเทาด้านสาธารณภัย ส่วนที่ 1 หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ 3 การป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมั่นคง สถานการณ์สาธารณภัยและการบริหารจัดการ อุทกภัย และดินโคลนถล่ม การป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมั่นคง ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน นโยบาย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม ภัยจากอัคคีภัย กรอบยุทธศาสตร์ แผนงาน และมาตรการ การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย การป้องกันและลดผลกระทบ ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ การเตรียมความพร้อม ภัยแล้ง การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน การป้องกันและระงับการชุมนุมประท้วงและก่อการจลาจล ภัยจากอากาศหนาว การจัดการหลังเกิดภัย ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม การขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ ภัยจากคลื่นสึนามิ ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ ภัยจากโรคแมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 – 2557
ขอบเขตสาธารณภัย • ด้านสาธารณภัยมี 14 ประเภทภัย 1) อุทกภัย และดินโคลนถล่ม 2) ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน 3) ภัยจากอัคคีภัย 4) ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย 5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง 6) ภัยแล้ง 7) ภัยจากอากาศหนาว
ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ) 8) ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน 9) ภัยจากแผ่นดินไหว และอาคารถล่ม 10) ภัยจากคลื่นสึนามิ 11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ 12) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด 13) ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ 14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ) • ด้านความมั่นคง มี 4 ประเภทภัย 1) การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม 2) การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด3) การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 4) การป้องกันและระงับการชุมนุมประท้วงและ ก่อการจลาจล
ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแผนงาน ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557
ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและลดผลกระทบ • มีการเชื่อมต่อระบบข้อมูลสารสนเทศจากระดับท้องถิ่นถึงระดับประเทศและองค์กรระหว่างประเทศภายในปี พ.ศ.2557 • มีการจัดทำและปรับปรุงแผนที่เสี่ยงภัยทุกประเภททุกปี • มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเกี่ยวกับสาธารณภัยปีละ 5หลักสูตร • มีการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันสาธารณภัยตามมาตรการด้านโครงสร้างอย่างน้อยจังหวัดละ 5 โครงการในแต่ละปีงบประมาณ • มีการฟื้นฟูบูรณะแหล่งน้ำเพื่อการป้องกันอุทกภัยและภัยแล้งอย่างน้อยจังหวัดละ 5 โครงการในแต่ละปีงบประมาณ • มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างน้อย 2เรื่อง • มีการจัดทำโครงการนำร่องการถ่ายเทความเสี่ยงจากสาธารณภัยโดยการประกันภัยให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ.2557
ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเตรียมความพร้อม • ชุมชนมีแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร้อยละ 30 ของจำนวนชุมชนในปี พ.ศ.2550 และมีจำนวนชุมชนที่มีแผนฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบแจ้งเตือนภัยร้อยละ 100 ภายในปี พ.ศ.2557 • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร้อยละ 100 ภายในปี พ.ศ.2557 • จัดซื้อเครื่องจักรกล เครื่องมือ อุปกรณ์ได้อย่างน้อยร้อยละ 50 ตามแผนการจัดซื้อเครื่องจักรกลของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ในฐานะหน่วยงานกลางของรัฐในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศภายในปี พ.ศ.2557
ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน • มีการจัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ในแต่ละระดับพื้นที่เมื่อเกิดภัยแต่ละครั้งอย่างน้อยร้อยละ 60 ในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 80 ในปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 90 ในปี พ.ศ.2556 และร้อยละ 100 ในปี พ.ศ.2557 • มีการเชื่อมโยงระบบสื่อสารระหว่างหน่วยงานให้ใช้งานได้ขณะเกิดภัยให้ได้ร้อยละ 85 ในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 90 ในปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 95 ในปี พ.ศ.2556 และร้อยละ 100 ในปี พ.ศ.2557 • ประชาชนผู้ประสบภัยได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิดภัยอย่างน้อยร้อยละ 85 ในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 90 ในปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 95 ในปี พ.ศ.2556 และร้อยละ 100 ในปี พ.ศ.2557 • ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ภัยที่ถูกต้องร้อยละ 60 ในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 70 ในปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 80 ในปี พ.ศ.2556 และร้อยละ 90 ในปี พ.ศ.2557
ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการหลังเกิดภัย • มีการให้ความช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้ประสบภัยให้มีความพึงพอใจได้ร้อยละ 80 ในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 85 ในปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 90 ในปี พ.ศ.2556 และร้อยละ 95 ในปี พ.ศ.2557 • โครงสร้างพื้นฐานที่เสียหายได้รับการฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิม หรือดีกว่าเดิม (Built Better) ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละปีงบประมาณ • มีรายงานการเรียนรู้จากบทเรียน (Lesson Learn) อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับในปี พ.ศ.2554 จำนวน 3 ฉบับ ในปี พ.ศ.2555 จำนวน 4 ฉบับ ในปี พ.ศ.2556 และ จำนวน 5 ฉบับ ในปี พ.ศ.2557
แผนผังระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยแผนผังระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทย หน่วยงานระหว่างประเทศ หน่วยงานต่างประเทศ นายกรัฐมนตรี สั่งการ กปภ.ช. ประสานงาน ร้องขอ ร้องขอ ช่วยเหลือ สั่งการ ช่วยเหลือ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวง, ทบวง, กรม สั่งการ ร้องขอ ร้องขอ ประสานงาน สั่งการ (สั่งการ-ในกรณีของ กห.) ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ร้องขอ ผอ.จว. หรือ ผอ.กทม. ผอ.ศูนย์ฯ ปภ. ที่รับผิดชอบ ร้องขอ กองทัพ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ ร้องขอ ร้องขอ สั่งการ ร้องขอ สั่งการ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ สั่งการ ช่วยเหลือ ผอ.อำเภอ ผอ.เทศบาล, ผอ.อบต. ผอ.เมืองพัทยา ภาคเอกชน/มูลนิธิ ผอ.จว. ข้างเคียง สั่งใช้ ช่วยเหลือ ร้องขอ ร้องขอ สั่งการ อปพร. สั่งการ ผอ.อำเภอ/ เทศบาล/อบต.ข้างเคียง สมทบ สมทบ สั่งการ หน่วยเผชิญเหตุ/หน่วย สงเคราะห์ผู้ประสบภัย หน่วย เผชิญเหตุ หน่วย เผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ หน่วยเผชิญเหตุ พื้นที่ประสบภัย
ระดับความรุนแรงของสาธารณภัยระดับความรุนแรงของสาธารณภัย 27
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2552 เพื่อใช้เป็นกรอบ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) จัดทำแผนแม่บทในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประเภทต่าง ๆ จัดทำแผนปฏิบัติการการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ ระดับกระทรวง ด้านการบริหารจัดการ ภัยพิบัติ ด้านการฟื้นฟู ด้านฐานข้อมูลและสารสนเทศ ภายใต้นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) จัดทำมาตรการความปลอดภัย จัดทำแผนและฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทุกระดับ ก่อสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการป้องกันสาธารณภัย ลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการประสานความร่วมมือการสร้างศักยภาพบุคลากรและการให้ความรู้กับนักเรียนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (8 ม.ค. 2552) ร่วมบูรณาการโครงการ “หน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน” ตามนโยบาย รมว. มท. กับผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) 2. การเตรียมพร้อมรับภัย ฝึกอบรมและสัมมนาสร้างความตระหนักแก่ประชาชน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เจ้าหน้าที่ ปภ. และองค์กรเครือข่าย จัดทำคู่มือประชาชน คู่มือชุมชน คู่มือวิทยากร
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) ติดตั้งอุปกรณ์เตือนภัย จัดทำแผนจัดหาชุดเครื่องจักรกล ยานพาหนะ เพิ่มเติมและทดแทนของเดิม พัฒนามาตรฐานชุดเครื่องจักรกลสาธารณภัยและอุปกรณ์
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) จัดทำแผนปฏิบัติการฉุกเฉินทุกระดับ สร้างและพัฒนาเครือข่ายการปฏิบัติงานในการบริหารจัดการสาธารณภัยให้เข้มแข็ง 4,731 ชุมชน สร้างและพัฒนา อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) 1,160,914 คน มิสเตอร์เตือนภัย 12,663 คน
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) 3. การจัดการภัยในภาวะฉุกเฉิน ตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจภัยประเภทต่างๆ ตามฤดูกาล ปฏิบัติและประสานการปฏิบัติแบบบูรณาการกับหน่วยงานและองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วน มีสายด่วนนิรภัย (Call Center) 1784 มีชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤติ(ERT) ประจำศูนย์ ปภ.เขต และส่วนกลาง มีทีมหนึ่งตำบลหนึ่งทีมกู้ชีพกู้ภัย (OTOS) 75 จังหวัดจำนวน 6,840 แห่ง
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) 4. การจัดการหลังเกิดภัย ประสานการช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผู้ประสบ สาธารณภัยตามระเบียบกระทรวงการคลัง แจกจ่ายถุงยังชีพ เครื่องกันหนาว และจัดหาที่อยู่อาศัยชั่วคราวแก่ผู้ประสบภัย ฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน ที่ได้รับความเสียหายจากสาธารณภัย โดยใช้เครื่องจักรกลจากศูนย์ ปภ. เขต และใช้งบกลาง สงเคราะห์ผู้ประสบภัยและ ทายาท
กิจกรรมในกรอบภารกิจสำคัญ (ต่อ) 5. การประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ GTZรัฐบาลสหพันธรัฐเยอรมนี JICAรัฐบาลญี่ปุ่น SRSAรัฐบาลสวีเดน รัฐบาลแคนนาดา JUSMAGTHAI สหรัฐอเมริกา FDMAทบวงการบริหารอัคคีภัย และสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย และการสื่อสารประเทศญี่ปุ่น ADPCศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย ADRCศูนย์ลดภัยพิบัติแห่งเอเชีย UNDP,UNISDR,UNOCHA,UNEP,UNICEF และหน่วยงานภายใต้สหประชาชาติ ASEAN สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และกรมโยธาธิการและผังเมือง ตัวชี้วัดที่ 2.4 “ระดับความสำเร็จของการป้องกันการเกิดอัคคีภัยอาคารสูงอาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และโรงแรม”
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่ 1 • ระดับ 1 กำหนดแผนงานหลักในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยฯ ปี 2553 โดยมีกิจกรรมร่วมกันของ 2 หน่วยงาน ดังนี้ • กำหนดแผนงานหลักในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยในอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ อาคารพาณิชย์ โรงงานและโรงแรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 • จัดทำคำสั่งกลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการสุ่มตรวจอาคาร
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่ 1 • “แผนงานหลักในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยในอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ อาคารพาณิชย์ โรงงานและโรงแรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553” • ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ • การสุ่มตรวจอาคาร • การฝึกอบรมด้านการป้องกันอัคคีภัย • การประชาสัมพันธ์ด้านการป้องกันอัคคีภัย
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่ 1 • “คำสั่งกลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง ที่ 1/2553” เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสุ่มตรวจอาคาร ลงวันที่ 26 เมษายน 2553 • ประกอบด้วย • ผอ.สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร (ยผ.) เป็นประธาน • หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด หรือผู้แทน เป็นกรรมการ • หัวหน้ากลุ่มงานตรวจสอบและพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย (ยผ.) เป็นเลขานุการ
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่ 1 • แนวทางการดำเนินงานร่วมของทั้ง 2 หน่วยงาน • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • จัดฝึกอบรมด้านการป้องกันอัคคีภัย โดยมีวิทยากรจากกรม โยธาธิการและผังเมืองเข้าร่วม • เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้านการป้องกันอัคคีภัย ในรูปของสื่อประชาสัมพันธ์ • กรมโยธาธิการและผังเมือง • การสุ่มตรวจอาคาร • การฝึกอบรมร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้านการป้องกันอัคคีภัย
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่ 1 • ทั้งนี้ ให้รายงานผลการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม ให้ ปภ. ทราบ • ตามแบบรายงานผลการดำเนินงานตามรายละเอียดตัวชี้วัดระดับ • กลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง จำนวน 2 ครั้ง • ครั้งที่ 1 รายงานผลการดำเนินงานช่วงเดือนมีนาคม –กรกฎาคม 2553 • (ภายในวันที่ 30 ก.ค.53) • ครั้งที่ 2 รายงานผลการดำเนินงานช่วงเดือนมีนาคม –สิงหาคม 2553 • (ภายในวันที่ 31 ส.ค. 53)
การดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับที่2 ระดับ 2 ดำเนินการได้ครบถ้วนทุกกิจกรรมตามแผนฯ และสรุปผลสำเร็จตามเป้าหมายกิจกรรมที่ชัดเจน นำเสนอกระทรวงมหาดไทยและเผยแพร่ลงในเว็บไซด์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดำเนินการเรื่องนำสรุป ผลสำเร็จตามเป้าหมายกิจกรรมขึ้นเว็บไซด์ ของ ปภ. / กรมโยธาธิการและผังเมือง และกระทรวงมหาดไทย
ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดที่ 2.4 ในระดับที่ 3 , 4 และ 5 ระดับ 3 จำนวนการเกิดอัคคีภัยมากกว่าปี 2552 ไม่เกิน 10 ครั้ง (79 ครั้ง) ระดับ 4จำนวนการเกิดอัคคีภัยมากกว่าปี 2552 ไม่เกิน 5 ครั้ง (74 ครั้ง) ระดับ 5จำนวนการเกิดอัคคีภัยน้อยกว่าปี 2552 (น้อยกว่าหรือเท่ากับ 68 ครั้ง)
ความท้าทาย • ความถี่และความรุนแรงของภัยพิบัติสูงขึ้น • การนำบทเรียนจากเหตุการณ์เกิดคลื่นสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 มาใช้ประโยชน์ • การเป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศของ ปภ.
การเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ • กฎหมาย • แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย/ซ้อมแผน • บุคลากร เจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร • เครื่องจักรกล/กู้ภัย/ยานพาหนะ/อุปกรณ์
การเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ (ต่อ) • ระบบสื่อสารหลัก/สำรอง • ระบบเตือนภัย • ระบบพลังงานหลัก/สำรอง • หน่วยงานเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ชุมชน – การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (CBDRM)
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ประชาชน มีการป้องกันและแจ้งเตือนภัยด้วยตนเอง มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการป้องกันภัย มีความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้ด้วยตนเองในเบื้องต้น ได้รับบริการและการช่วยเหลืออย่างรวดเร็วและทั่วถึง ลดการบาดเจ็บ สูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน มีความมั่นใจในความปลอดภัย
สรุป ปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทย คือ • การปฏิบัติงานเชิงรุก เน้นการป้องกัน • การพัฒนาที่ยั่งยืน • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การบูรณาการกับหน่วยงานเครือข่ายทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ
คำขวัญ ปภ. ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟู และกู้ภัย คือหัวใจกรม ปภ.