180 likes | 819 Views
การส่งเสริมสุขภาพ. พนัส พฤกษ์สุนันท์. สุขภาพ คือ อะไร ???. WHO : สุขภาพมีความหมายมากกว่าการไม่เจ็บป่วย สุขภาพเป็นสภาวะความเป็นปกติสุขอย่างสมบูรณ์ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ. สุขภาพเป็นความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตัวเราเอง สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา และเมืองของเรา.
E N D
การส่งเสริมสุขภาพ พนัส พฤกษ์สุนันท์
สุขภาพ คือ อะไร ??? WHO : สุขภาพมีความหมายมากกว่าการไม่เจ็บป่วย สุขภาพเป็นสภาวะความเป็นปกติสุขอย่างสมบูรณ์ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ สุขภาพเป็นความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตัวเราเอง สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา และเมืองของเรา สุขภาพ (-) ----(0)----(+) ใครเป็นผู้ดูแลสุขภาพ
ใจ กาย จิตวิญญาณ สังคม สุขภาวะ พนัส พฤกษ์สุนันท์
Global Conference on Health Promotion City Country Year Themes Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 1. Ottawa Canada 1986 The Move Towards a New Public Health Ottawa Charter 2. Adelaide Australia 1988 Health Public Policy 3. Sundsvall Sweden 1991 Supportive Environments for Health 4. Jakarta Indonesia 1997 New Partners for a New Era Leading Health Promotion into 21 Century 5. Mexico city Mexico 2000 Health Promotion : Bridging the Equity Gap 6.Bangkok Thailand 2005 Policy and Partnership for Action
Health Promotion is the process of enabling people to increase control over, and to improve, their health (Ottawa Charter, 1986)
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ความเสมอภาค การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม การศึกษา สุขภาพ ความปกติ คุณค่า จิตสำนึก สันติภาพ ระบบการศึกษา สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ระบบนิเวศ การคมนาคม สื่อสาร ระบบสาธารณสุข ระบบเศรษฐกิจ
"3355" of Health Promotion 5 Infrastructures Partners 5 Actions 1 2 Media and Communication Training 3 Strategies Supportive Environment Community Participation Health Issues mediate advocate 3 Approaches Advocate Settings Population 5 3 Regulations Personal Development Health Care Reform New Information Technology enable Regulation Health Public Policy Building Capacity 4 Investment Research
การเคลื่อนไหวเพื่อการส่งเสริมสุขภาพในไทยการเคลื่อนไหวเพื่อการส่งเสริมสุขภาพในไทย • 1980 เริ่ม HFA เน้นการบวนการ PHC ให้ปชช.มีส่วนร่วมในรูปอสม. ทำงานเชื่อมโยงกันระบบบริการสุขภาพ อสม.เข้มแข็ง แต่ประชาชนยังมีส่วนร่วมน้อย โดยเฉพาะเขตเมืองได้ผลน้อย
ในระยะ 15 ปีที่ผ่านมา มีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องดังนี้ • กระบวนการพัฒนาเมืองน่าอยู่ เน้นที่ Supportive Environment and People Empowerment ในอปท. • นโยบายสุขภาพดีที่ต้นทุนต่ำในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ • การมีพรบ.กองทุน สสส. ในปี 2544 • พรบ.หลักประกันสุขภาพ ปี 2545
นโยบายสร้างนำซ่อม • การรณรงค์ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย • ปีรณรงค์แห่งการสร้างสุขภาพ 2545 – 2547 (Empowerment for Health)
วาระแห่งชาติเรื่องเมืองไทยแข็งแรงวาระแห่งชาติเรื่องเมืองไทยแข็งแรง • กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพด้วยสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ และพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 10 “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” • ยุทธศาสตร์สังคมอยู่ดีมีสุข
Critical success factors ในการเคลื่อนตัวด้านส่งเสริมสุขภาพ CSF ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและภาคีสุขภาพ โดยเฉพาะการถ่ายโอนภารกิจด้านสุขภาพสู่ อปท. ตามพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจสู่ อปท. 2543
สสจ. ศูนย์วิชาการ สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี มีคุณภาพชีวิตดี อาศัยในชุมชนน่าอยู่ ประชุม สัมมนา อบรม สนับสนุน กำกับ ประเมินผล รณรงค์ ลดโรค การเจ็บป่วย พิการ การตายก่อนวัยอันควร เครือข่าย บริการสุขภาพ CUP PCU ปชส. ชมรม ผู้สูอายุ ชมรมออกกำลังกาย HPS HPW CFGT HM ร้านอาหาร ตลาดสด เครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพ ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น สถานที่ทำงาน กลุ่มผลิตภัณฑ์ สุขภาพ สวนสาธารณะรื่นรมย์ SMEs โรงเรียน อื่นๆ อื่นๆ ส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสุขภาพและพึ่งตนเอง รวมพลังภาคีและการมีส่วนร่วม พนัส พฤกษ์สุนันท์ ชุมชนสร้างสุขภาพ