430 likes | 786 Views
ความร่วมมือระหว่างกรมการ แพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ. 21 /0 4 /57. ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ. ทำไม กรมการแพทย์ ต้องเข้ามาทำงานร่วมกับเขตบริการสุขภาพ ภารกิจกรมการแพทย์ NHA concept บทบาทกรมการแพทย์ใน NHA แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plans)
E N D
ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ 21/04/57
ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ • ทำไม กรมการแพทย์ ต้องเข้ามาทำงานร่วมกับเขตบริการสุขภาพ • ภารกิจกรมการแพทย์ • NHA concept • บทบาทกรมการแพทย์ใน NHA • แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plans) • สิ่งที่กรมการแพทย์จะปรับปรุงเพื่อการดำเนินการร่วมกับเขตบริการสุขภาพ
กรมการแพทย์ เป็นกรมวิชาการ
ภารกิจ กรมการแพทย์ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้กรมการแพทย์มีภารกิจในการพัฒนาวิชาการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
ส่งเสริม กรมอนามัย รักษา ฟื้นฟู ป้องกัน กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ การแบ่งงานวิชาการของกระทรวงสาธารณสุข สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต แผนไทย+ทางเลือก กรมแพทย์แผนไทยฯ ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาหารและยา สนง.คกก.อาหารและยา
ภารกิจ กรมการแพทย์ พัฒนางานด้านวิชาการ เพื่อยกระดับการรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ โรคทางกาย แผนปัจจุบันให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่เหมาะสม
ผลลัพธ์ที่ต้องการ “เพื่อให้ประชาชนไทย ได้รับการดูแลรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสม และคุ้มค่า” สอดคล้องกับวิสัยทัศน์เดิมของกรมการแพทย์ “เป็นผู้นำด้านวิชาการและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่สมคุณค่า เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าของประชาชน”โดยกรมการแพทย์เป็นกรมวิชาการ มุ่งเน้นด้านการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
แนวทางพัฒนากระทรวงสาธารณสุขแนวทางพัฒนากระทรวงสาธารณสุข NHA ระดับประเทศ National Health Authority Regulator Provider Purchaser • สปสช. • สปส. • กรมบัญชีกลาง • ฯลฯ สป./กรม ส่วนกลาง
บทบาทกรมการแพทย์ กรมการแพทย์ดำเนินการร่วมกับทุกภาคส่วน อาศัยข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการที่เหมาะสม เพื่อกำหนดทิศทาง ควบคุม กำกับ ดูแลงานด้านรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของกระทรวงสาธารณสุข
National Health Authority 12 ประเด็น • การกำหนดนโยบาย • การสร้างและจัดการความรู้ • การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • การกำหนดและรับรองมาตรฐานต่างๆ • การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • การพัฒนากลไกด้านกฎหมาย • การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ • การกำกับดูแล ติดตาม ประเมินผล • การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังสุขภาพของประเทศ • การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว • การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ • เขตสุขภาพหรือ service plan 4 Subsystems • ระบบบริการ • ระบบส่งเสริมสุขภาพ • ระบบป้องกัน ควบคุมโรค • ระบบยาและคุ้มครองผู้บริโภค
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • กรมการแพทย์ต้องมีบทบาทนำใน subsystem ระบบบริการ ร่วมกับกรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทยฯ และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ ประเด็นที่สำคัญควรพัฒนา ได้แก่ • การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์ • เพื่อการพัฒนานโยบาย ซึ่งอาศัยข้อมูล ระบาดวิทยา (epidemiology) ภาระโรค (burden of disease) ความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ (economic burden) คุณภาพบริการ (quality of care) ทรัพยากร (medical care resource) และ ข้อมูลทางวิชาการ (technology assessment, model development, research)
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์ (ต่อ) • เพื่อเป็นศูนย์อ้างอิงทางด้านวิชาการแพทย์ทั้งในด้านวิชาการ ข้อมูล มาตรฐานและตัวบุคคล • เพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านวิชาการแพทย์ • เป็นฐานในการดำเนินงานใน 11 ประเด็นที่เหลือของ NHA
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ด้านวิชาการ การประเมินเทคโนโลยีและการพัฒนามาตรฐานทางการแพทย์ • การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล • ระบบติดตามประเมินผลคุณภาพบริการด้านการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ที่สำคัญเกี่ยวข้องกับระบบวิชาการและระบบเครือข่ายบริการ
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • Service Plan and Technical Support ด้านการรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ รวมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อยกระดับสถานบริการสุขภาพระดับภูมิภาคให้มีศักยภาพด้านบริการระดับตติยภูมิ • การพัฒนา Centers of Excellence สู่การเป็น National Health Authority
วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • ในประเด็นอื่นๆ ได้แก่ ระบบกลไกเฝ้าระวังโรค การพัฒนากฎหมาย การเงินการคลัง การต่างประเทศ และการจัดการกำลังคนด้านการแพทย์ กรมการแพทย์มีส่วนร่วมสนับสนุน และให้ข้อมูลเชิงวิชาการ • งานบริการตติยภูมิของกรมการแพทย์ จำเป็นต้องจัดให้มีอยู่ และพัฒนาให้เป็นเลิศ เพื่อสนับสนุนงานข้างต้น รวมทั้งรับส่งต่อจากหน่วยบริการของเครือข่ายบริการ
วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ข้อเสนอบทบาทกรมการแพทย์ใน National Health Authority NHA บริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ควบคุมและ ป้องกันโรค Subsystems เขต 1-12 HR Law &Regulation etc Strategy Finance Information โครงสร้าง ระดับเขต ด้านวิชาการ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E เครือข่าย Technical Support
วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ด้านบริหาร ด้านวิชาการ ด้านวิชาการ ข้อเสนอบทบาทกรมการแพทย์ใน National Health Authority NHA บริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ควบคุมและ ป้องกันโรค Subsystems เขต 1-12 HR Law &Regulation etc Strategy Finance Information โครงสร้าง ระดับเขต ด้านวิชาการ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E เครือข่าย Technical Support 20
คณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ (National Health Policy Board : NHPB) ความเชื่อมโยงบทบาทภารกิจและกลไกการทำงาน ศูนย์การจัดการข้อมูลหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NDCH) กสธ. สำนักคณะกรรมนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ (NHAO) ศูนย์กลางข้อมูลสุขภาพระดับชาติ (NHIC) ภารกิจโครงสร้างเป็น คกก. หรือหน่วยงาน กองทุน ยา สำนักงานเขตบริการสุขภาพ 1-12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กฏหมาย คลังสุขภาพ กำลังคน M&E ระบาดวิทยา สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ประเมินเทคโนโลยี มาตรฐาน วิชาการ/วิจัย/วิชาชีพ International Health KM AREA HEALTH BOARD
วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ความเชื่อมโยงบทบาทภารกิจและกลไกการทำงาน Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E บทบาทภารกิจ NHA กรมการแพทย์ เครือข่าย Technical Support
Service Plans What 10 Service Plans Priority Setting Plan ครอบคลุม เข้าถึง ประสิทธิภาพ คุ้มค่า ทำได้จริง How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting When Phasing Service implement Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. กลุ่มวัย Whom M & E
Service Plans What Priority Setting Plan • Information • ข้อมูลวิชาการ How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement กลุ่มวัย Whom M & E
การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการจัดการเสนอแนะนโยบายการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการจัดการเสนอแนะนโยบาย • ระบาดวิทยา • ปัจจัยเสี่ยง • ความชุก • อัตราตาย • อัตราตายปรับตามอายุ • ทรัพยากร • บุคลากร • เครื่องมือแพทย์ • ระบบบริการ
ระบบวิชาการ - KM • วิจัย -Research • ประเมินเทคโนโลยี - TA • สำรวจ - Survey • ทบทวนวารสาร – Document Review • ถอดบทเรียน –Lesson Learn / CoP • เฝ้าระวัง / ระบบทะเบียน –Surveillance / Registry System • สืบค้นฐานข้อมูล และระเบียน รายงาน
ระบบวิชาการ - KM • ปรับระบบวิชาการของกรมการแพทย์ให้ตอบสนองต่อการเป็น Regulator • พัฒนาระบบมาตรฐานทางการแพทย์ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ • วิจัย -Research • ประเมินเทคโนโลยี - TA • สำรวจ - Survey • ทบทวนวารสาร – Document Review • ถอดบทเรียน –Lesson Learn / CoP • เฝ้าระวัง / ระบบทะเบียน –Surveillance / Registry System • สืบค้นฐานข้อมูล และระเบียน รายงาน เครือข่ายวิชาการร่วมกับเขตบริการสุขภาพ
การจัดทำหนังสือ Thailand Medical Services Profile ที่มาและความสำคัญ สำนักที่ปรึกษา กรมการแพทย์ ข้อเสนอการปรับบทบาทกระทรวงสาธารณสุข 11 ประเด็น NHA กรมการแพทย์เป็นกรมวิชาการมีการพัฒนาบทบาทงานวิชาการเพื่อสนับสนุนการเสนอแนะนโยบายด้านการรักษาฟื้นฟูฝ่ายกาย ควรปรับบทบาทสู่ NHA การจัดทำ TMSP เป็นการพัฒนาสารสนเทศข้อมูลวิชาการแพทย์ เพื่อใช้เป็น Evidence based เชื่อมโยงกับระบบ M&E และ Technical support เป็นพื้นฐานสำคัญนำไปสู่การพัฒนาอื่นๆ ที่สอดคล้องกับนโยบาย
ประเด็นในการจัดทำThailand Medical Services Profile ประเด็นในการจัดทำ ประกอบด้วย สำนักที่ปรึกษา กรมการแพทย์ • Stroke • Cancer • HT/DM • CKD • Narcotics • MI • Eye • Rehab • Newborn • หู คอ จมูก • มารดา/ทารก • เวชศาสตร์ฉุกเฉิน • อาชีวเวชศาสตร์ • Ortho • โรคติดเชื้อ • ไข้เลือดออก • ทันตกรรม
Service Plans Priority Setting What Plan How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting • Information • ข้อมูลวิชาการ When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement • Technical Support กลุ่มวัย Whom M & E
Technical Support • ฝึกอบรม ระยะสั้น - ยาว • บรรยายวิชาการ ประชุมวิชาการ • นิเทศ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทาง นวตกรรม • เอกสาร วารสารวิชาการ • มหกรรม ประกวดผลงาน • เครือข่ายรับส่งต่อ • บริการส่วนขาด (เช่น ขาเทียม เครื่องช่วยคนพิการ) • การพัฒนา Technical Support อาศัยความร่วมมือทุกภาคส่วน เช่นมหาวิทยาลัย ราชวิทยาลัย ต่างประเทศ ฯลฯ
Service Plans Priority Setting What Plan How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting • Information • ข้อมูลวิชาการ When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement • Technical Support กลุ่มวัย Whom • M & E M & E
Monitoring and Evaluation • นิเทศ ติดตาม • พัฒนาระบบติดตาม ฐานข้อมูล M&E • ติดตาม KPI • พัฒนาระบบ Benchmarking • พัฒนา Clinical Audit
ระบบติดตามประเมินผล M&E และให้การสนับสนุนทางวิชาการ • ปรับระบบแพทย์เขตของกรมการแพทย์ให้ตอบสนองต่อการเป็น Regulator โดยเฉพาะระบบ M&E และ Technical Support • ผู้อำนวยการแพทย์เขตของกรมการแพทย์ ทำหน้าที่เป็นผู้ติดตาม ประสานการสนับสนุนด้านวิชาการ การพัฒนาการแพทย์ของเขตบริการสุขภาพ โดยเน้น service plan และปัญหาด้านการแพทย์อื่นๆ ภายในเขตฯ • โรงพยาบาล/สถาบันของกรมการแพทย์ พัฒนาระบบติดตามและให้การสนับสนุนทางวิชาการในแต่ละ agenda ที่สำคัญ
บทบาทภารกิจใหม่ของกรมการแพทย์บทบาทภารกิจใหม่ของกรมการแพทย์ กรมการแพทย์ เพิ่มบทบาทการเป็นองค์กรกลาง (organizer)เพื่อให้เกิดการบูรณาการ โดยอาศัยความเชี่ยวชาญของกรมการแพทย์และรวบรวมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในเรื่องการแพทย์ที่กำหนด ได้แก่ ประเด็นของการเป็น NHA 12 ประเด็น เพื่อเกิดการดำเนินงานตามนโยบายอย่างเหมาะสม
การวิเคราะห์การปรับโครงสร้างของกรมการแพทย์ที่จำเป็น ในการเป็น NHA regulator
การปรับโครงสร้างส่วนราชการของกรมการแพทย์ หมายถึงหน่วยงานที่กำหนดใหม่ กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมการแพทย์ หมายถึงหน่วยงานที่เปลี่ยนชื่อใหม่ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักวิชาการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) สำนักตรวจราชการ สถาบันทันตกรรม โรงพยาบาลสงฆ์ สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ สำนักสารสนเทศการแพทย์ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สถาบันประสาทวิทยา สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพยาธิวิทยา โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ สำนักงานคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน สถาบันโรคทรวงอก โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ชลบุรี สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สถาบันโรคผิวหนัง โรพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ลำปาง โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ลพบุรี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาคสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลยาเสพติดธัญญารักษ์ โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาคอุบลราชธานี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค อุดรธานี
การปรับโครงสร้างส่วนราชการของกรมการแพทย์ โรงพยาบาล/สถาบัน/ศูนย์ กลุ่มภารกิจอำนวยการ กลุ่มภารกิจสู่การเป็นองค์กรสุขภาพระดับชาติ (NHA) กลุ่มภารกิจวิชาการ กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ
Stroke Cancer HT/DM CKD Narcotics MI Eye Rehab Newborn หู คอ จมูก มารดา/ทารก เวชศาสตร์ฉุกเฉิน อาชีวเวชศาสตร์ Ortho โรคติดเชื้อ ไข้เลือดออก ทันตกรรม ฯลฯ การเชื่อมโยงโครงสร้าง หน่วยงานกลาง และ โรงพยาบาล/สถาบันของกรมการแพทย์ เพื่อการเป็น NHA ส่วนกลาง ร.พ. / สถาบัน กลุ่มภารกิจ NHA
ข้อเสนอแนะ White Papers Stroke Cancer HT/DM CKD Narcotics MI Eye Rehab Newborn หู คอ จมูก มารดา/ทารก เวชศาสตร์ฉุกเฉิน อาชีวเวชศาสตร์ Ortho โรคติดเชื้อ ไข้เลือดออก ทันตกรรม ฯลฯ การเชื่อมโยงในระดับนโยบาย Purchasers ผู้บริหารกรม อธิบดี / รองอธิบดี ผู้บริหาร สธ. รมว./ปลัด/รองปลัด/ผู้ตรวจฯ ร.พ. / สถาบัน ส่วนกลาง กลุ่มภารกิจ NHA
Service Plan Cube • สารสนเทศการแพทย์Information • ระบาดวิทยา • Burden of Diseases • Economic Burden • Quality of Care • Resources • TA • ระบบวิชาการแพทย์ KM • วิจัย • TA Model Development • Survey • ทบทวนวารสาร • ถอดบทเรียน • เฝ้าระวัง, ลงทะเบียนโรค • สืบค้นฐานข้อมูล รายงาน • การสนับสนุนด้านวิชาการ • Technical Support • การติดตามกำกับ • Monitoring & Evaluation กลุ่มเป้าหมาย อายุ 0-5 ปี /สตรี วัยเรียน อายุ 5-14 ปี วัยรุ่น/นักศึกษา อายุ 15-21 ปี วัยทำงาน อายุ 15-59 ปี อายุ 60 ปี ขึ้นไป /คนพิการ ระบบบริการสุขภาพ รพ. สถาบัน ศูนย์ กรมการแพทย์ NCD(DM HT stroke COPD) บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม รพศ.(A) ตาและไต 5 สาขาหลัก สุขภาพช่องปาก รพท.(S-M1) จิตเวช ทารกแรกเกิด กก.สาขาโรคไม่ติดต่อ(NCD) รพช.(M1-F3) อุบัติเหตุ กก.สาขาบริการปฐมภูมิฯ มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด กก.สาขาไตและสาขาตา รพ.สต. กก. 5 สาขาหลัก กก.สาขาสุขภาพช่องปาก กก.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช สถานบริการสุขภาพ กก.สาขาทารกแรกเกิด กก.สาขาอุบัติเหตุ กก.สาขาโรคมะเร็ง กก.สาขาโรคหัวใจ กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ รายงานทุก วันพฤหัสบดี ประสานงาน รายงานทุก วันศุกร์ สบรส. อธิบดี รองอธิบดี เลขานุการ SP สำนักงานแพทย์เขต 12 เขตบริการสุขภาพ ผอ.สำนักการแพทย์เขต 12 เขต : Service Plan Manager สีนำเงิน, เขียว : กรมการแพทย์เป็นเจ้าภาพหลัก ดัดแปลงมาจาก Health Care Cube ของนพ.ปานเนตร ปางพุฒิพงษ์ และรองอธิบดี น.พ.ณรงค์ อภิกุลวณิช
โครงการสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลาง บริการสุขภาพใน ASEAN(ต่อ) กรมการแพทย์จะมุ่งมั่นพัฒนางาน “เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าของประชาชน” • โครงการดูแลสุขภาพแรงงานไทย ในประเทศอาเซียน • โครงการจัดหน่วยบริการที่เป็นเลิศ (Excellent Center) ในการเป็นศูนย์กลาง การฝึกอบรมด้านการแพทย์สำหรับ กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน (14 โครงการ) www.dms.moph.go.th