250 likes | 438 Views
การค้นหาข้อมูลด้วยคิวรี. ชนิดของคิวรี Select query ใช้ในการเลือกข้อมูลจากตารางๆเดียวหรือหลายตาราง Crosstab Query ใช้ในการสรุปผลจากตาราง Action Query ใช้ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในตาราง Make-table Query สร้างตารางข้อมูลใหม่ Append Query นำข้อมูลจาก dynaset ไปต่อท้ายในตารางเดิม
E N D
การค้นหาข้อมูลด้วยคิวรีการค้นหาข้อมูลด้วยคิวรี • ชนิดของคิวรี • Select query ใช้ในการเลือกข้อมูลจากตารางๆเดียวหรือหลายตาราง • Crosstab Query ใช้ในการสรุปผลจากตาราง • Action Query ใช้ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในตาราง • Make-table Query สร้างตารางข้อมูลใหม่ • Append Query นำข้อมูลจาก dynaset ไปต่อท้ายในตารางเดิม • Delete Query ลบข้อมูลที่เลือกออกจากตาราง • Update Query นำข้อมูลไปปรับเปลี่ยนในตาราง
Parameter Query เป็นการเรียกใช้คิวรีเดียวกันหลายๆครั้งโดยใช้เงื่อนไขที่แตกต่างกัน • SQL-specific Query เป็นคิวรีที่สร้างด้วยคำสั่งของภาษา SQL
การสร้างคิวรี • เปิดฐานข้อมูล • จากเมนู Insert เลือกคำสั่ง Query หรือ • คลิกที่แผ่นป้าย Query ในหน้าต่าง Database แล้วเลือกปุ่ม New
Design View ใช้สร้างคิวรีด้วยตนเอง • Sample Query Wizard สร้างคิวรีด้วย Wizard อย่างง่ายๆ • Crosstab Query คิวรีที่ใช้ในการสรุปผลลัพธ์ในรูปตาราง • Find Duplicates Query สร้างคิวรีที่มีเรคอร์ดซ้ำในตาราง • Find Unmatched Query สร้างคิวรีเพื่อค้นเรคอร์ดในตาราง 2ตารางที่สัมพันธ์กันแต่ไม่ตรงตามเงื่อนไข
การสร้างคิวรีใหม่เอง • จากจอภาพของ Database Window ให้เลือก Queries แล้วเลือก New • เลือก Design View • เลือกชื่อตารางที่ต้องการใช้ในคิวรี แล้วคลิกที่เมนู Add จะปรากฎ Field List ของตาราง แล้วเลือก Close • จะปรากฎจอภาพ QBE ให้ใส่รายละเอียดและเงื่อนไขต่างๆที่ต้องการในคิวรี • Field กำหนดชื่อฟิลด์ที่ต้องการ • Table ชื่อตาราง • Sort ต้องการเรียงลำดับฟิลด์นี้หรือไม่
Show ต้องการให้ฟิลด์นี้แสดงในผลลัพธ์หรือไม่ • Criteria ใช้กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาเรคอร์ด • เลือกฟิลด์ที่ต้องการ • ดับเบิลคลิกที่ชื่อฟิลด์ • ใช้เมาส์ลากชื่อฟิลด์ • พิมพ์ชื่อฟิลด์ที่ต้องการ • กำหนดรายละเอียดใน QBE grid • บันทึกคิวรีโดยใช้ File Save หรือ Save As
กำหนดเงื่อนไข • เงื่อนไขบนบรรทัดเดียวกันเชื่อมด้วย AND • เงื่อนไขต่างบรรทัดเชื่อมด้วยOR
การใช้ Wildcard Characters • * แทนข้อความใดๆ • ? แทนตัวอักขระ 1ตัว • # แทนตัวเลข 1 ตัว • [ ] กำหนดตัวอักษรไว้ภายใน หมายถึงให้เลือกเฉพาะตัวอักษรนี้เท่านั้น • ! เลือกคำที่มีเงื่อนไขตรงข้าม • - ระบุใน [ ] หมายถึงจนถึง • Like หมายถึงเหมือนกับ
Comparision operators • < • > • <= • >= • <> • =
Logical operators • AND • OR • NOT • BETWEEN • IN • EQV
+ บวก - ลบ * คูณ \ การหารที่ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม / การหารที่ได้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขทศนิยม ^ ยกกำลัง & การเชื่อมข้อความ : การตั้งชื่อฟิลด์ใหม่ MOD หาเศษที่เหลือจาการหาร ( ) จัดลำดับในการคำนวน Calculation Operators
Sum หาผลบวก Avg หาค่าเฉลี่ย Min หาค่าต่ำสุด Max หาค่าสูงสุด Count นับจำนวน Stdev หาค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน Var หาค่าความแปรปวน First หาค่าแรกของฟิลด์ Last หาค่าสุดท้ายของฟิลด์ Expression สร้างฟิลด์ใหม่ที่ใช้ในการคำนวณ Where ระบุเงื่อนไขสำหรับฟิลด์ที่ไม่ใช้กำหนด group Functions ในคิวรี
กำหนดเงื่อนไขกับวันที่กำหนดเงื่อนไขกับวันที่ • ใช้เครื่องหมาย # ใส่ข้างหน้าและหลังวันที่ เช่น เงื่อนไข : < # 01/01/98# between # 01/01/97# and #01/01/98# หมายเหตุ การพิมพ์วันที่ขอให้เรียงลำดับตาม เดือน วันที่ และปี
การอ้างถึงชื่อฟิลด์ • รูปแบบ [ชื่อฟิลด์] [ชื่อตาราง]. [ชื่อฟิลด์]
กำหนดเงื่อนไขการคำนวณกับวันที่กำหนดเงื่อนไขการคำนวณกับวันที่ • DATE() วันที่ปัจจุบัน • NOW() วันที่และเวลาปัจจุบัน • TIME() เวลาปัจจุบัน • ในการคำนวณชื่อฟิลด์ต้องเขียนภายใต้เครื่องหมาย [ ] • เช่นคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี วันเกิดคือฟิลด์ Birthdate เขียนได้เป็น (DATE() - [Birthdate])/365 > 30
การเชื่อมหลายฟิลด์เป็นฟิลด์เดียวกันการเชื่อมหลายฟิลด์เป็นฟิลด์เดียวกัน ใช้เครื่องหมาย &เชื่อมฟิลด์ รูปแบบ ชื่อฟิลด์ใหม่ : [ชื่อฟิลด์]&[ชื่อฟิลด์]&[ชื่อฟิลด์]… • เช่น นำฟิลด์ที่เก็บชื่อและนามสกุลมารวมกันแล้วเก็บในฟิลด์ใหม่ชื่อ NAME NAME:[Salu]& “ “ &[First]& “ “&[Last]
การกำหนดฟิลด์ใหม่พร้อมการคำนวณการกำหนดฟิลด์ใหม่พร้อมการคำนวณ รูปแบบ ชื่อฟิลด์ใหม่ : นิพจน์คำนวณ • เช่น ต้องการสร้างฟิลด์ใหม่เพื่อคำนวณภาษีพนักงานจากฟิลด์เงินเดือนชื่อ salary โดยคิดอัตรา 10% TAX :[ salary]*0.01
การสร้างคิวรีด้วย Wizard • เปิด Database window • เลือก Queries แล้วเลือก New • เลือก Simple Query Wizard • ที่ช่อง Tables/Queries กำหนดชื่อตาราง หรือคิวรีที่ต้องการ • ที่ช่อง Available Fields ให้เลือกฟิลด์ที่ต้องการนำมาสร้างคิวรีแล้วเลือกปุ่ม Next • กำหนดวิธีการแสดงข้อมูล แล้วเลือกปุ่ม Next จะได้จอภาพขั้นสุดท้าย • กำหนดชื่อคิวรี แล้วเลือกปุ่ม Finish
การสร้าง Crosstab Queries • เปิด Database window เลือก Queries แล้วเลือก New • เลือก Crosstab Query จะได้จอภาพให้เลือกตารางที่จะใช้สร้างคิวรี • เลือกตารางที่ต้องการ และกดปุ่ม Next • จอภาพจะแสดงรายชื่อฟิลด์ในตารางให้เลือก ครั้งแรกให้เลือกฟิลด์ที่จะกำหนดเป็น row headingในตารางและกดปุ่ม Next • เลือกฟิลด์ที่ต้องการประมวลผลเป็น Column Headingและกดปุ่ม Next • เลือกช่วงเวลาที่จะประมวลผลและกดปุ่ม Next • กำหนดฟังก์ชันที่ต้องการใช้คำนวณและกดปุ่ม Next • กำหนดชื่อคิวรีและกดปุ่ม Finish
Parameter Queries • เป็นคิวรีที่ทำให้เราสามารถเรียกใช้เงื่อนไขที่กำหนดไว้หลาย ๆครั้ง โดยเปลี่ยนข้อมูลในเงื่อนไขโดยไม่ต้องเข้าไปแก้ไขโดยตรง • ขั้นตอนการสร้าง 1. สร้างคิวรีใหม่ตามวิธีการที่กำหนกไว้ 2. ในส่วนของ Criteria ในส่วนของฟิลด์ที่ต้องการป้อนค่าเพื่อเปลี่ยนเงื่อนไขในการค้นหา ให้พิมพ์ข้อความนั้นในเครื่องหมาย[ ] 3. เราสามารถกำหนด parameter ได้หลายฟิลด์พร้อมๆกัน 4. บันทึกคิวรีที่สร้างไว้ด้วยคำสั่ง save
ตัวอย่างเงื่อนไขของ parameter query • การใส่ข้อมูลรายการเดียว [ Enter customer name : ] > [Enter salary :] • การใส่ข้อมูลเป็นกลุ่ม Like [ใส่ตัวอักษรตัวแรกของชื่อที่ต้องการ:]& “*” • การค้นข้อมูลเป็นช่วง Between [ใส่ค่าเริ่มต้น:] AND [ใส่ค่าสุดท้าย:]
Action Queries • Make Table Queries ใช้ในการสร้างตารางข้อมูลใหม่ จากตารางข้อมูลเดิม • ขั้นตอน 1. สร้างคิวรีใหม่ตามวิธีการที่กำหนดไว้ 2. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Make-Table จะปรากฎไดอะล็อกบ๊อกซ์ให้ใส่ชื่อตารางข้อมูลและกำหนด database 3. พิมพ์ชื่อตารางข้อมูลใหม่ที่สร้าง แล้วเลือก OK 4.บันทึกคิวรีเก็บด้วยคำสั่ง Save 5. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Run
Append Queries • ใช้สำหรับเพิ่มข้อมูลจากตารางหนึ่งไปใส่อีกตารางหนึ่ง • ขั้นตอน 1. สร้างคิวรีใหม่ตามวิธีการที่กำหนดไว้และเลือกตารางข้อมูล 2. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Append จะปรากฎไดอะล็อกบ๊อกซ์ให้ใส่ชื่อตารางข้อมูลที่จะนำข้อมูลไปเพิ่มและกำหนด database 3. พิมพ์ชื่อตารางข้อมูลใหม่ที่ต้องการนำข้อมูลไปไว้ แล้วเลือก OK 4.บันทึกคิวรีเก็บด้วยคำสั่ง Save 5. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Run
Update Queries • ใช้เปลี่ยนแปลงข้อมูลในตาราง • ขั้นตอน 1. สร้างคิวรีใหม่ตามวิธีการที่กำหนดไว้และเลือกตารางข้อมูล 2. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Update จะปรากฏบรรทัดใหม่คือ Update 3. เลือกชื่อฟิลด์และกำหนดเงื่อนไขในการเลือกข้อมูล 4.บันทึกคิวรีเก็บด้วยคำสั่ง Save 5. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Run
Delete Query • ใช้ในการลบเรคอร์ดออกจากตารางข้อมูล • ขั้นตอน 1. สร้างคิวรีใหม่ตามวิธีการที่กำหนดไว้และเลือกตารางข้อมูล 2. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Delete จะปรากฏบรรทัดใหม่คือ Delete 3. เลือกชื่อฟิลด์และกำหนดเงื่อนไขในการเลือกข้อมูลที่จะลบ 4.บันทึกคิวรีเก็บด้วยคำสั่ง Save 5. จากเมนูQueries เลือกคำสั่ง Run