330 likes | 600 Views
Development of Juvenile Delinquency Bio-psycho-social process. Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist. CD vs Delinquency (Age < 18yr). Delinquency is defined by law Many forms of delinquent acts are also symptoms of CD
E N D
Development of Juvenile DelinquencyBio-psycho-social process Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist
CD vs Delinquency (Age < 18yr) Delinquency is defined by law Many forms of delinquent acts are also symptoms of CD 90 % of children with 3 or more CD symptoms at age 15 frequent offenders a year later (Fergusson and Horwood,1995) • Aggression to people and animals • Destruction of property • Theft or Deceitfulness • Violation of rules
Conduct Disorder(CD) Childhoodantisocial behavior Repetitiveandpersistentviolationof thebasic rights of others and societal norms(Loeber et al., 2000) Risk for antisocial behaviors in adolescence and adult life, rate of adult psychiatric disorder (Robins,1996;Robins,1991) Wider interpersonal and social role impairments Violent marriages (Moffitt& Caspi,1998)
พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ก เ ร พบบ่อย 50 - 80 % ของผู้ใช้สารเสพติด ในเด็กโต หรือ วัยรุ่นตอนต้น มีพฤติกรรมต่าง ๆ ได้แก่ พูดปด หนีเรียน หนีออกจากบ้าน ชกต่อย รังแกคนอื่น ทำลายข้าวของ ข่มขู่ผู้อื่น ฝ่าฝืนกฎระเบียบ รังแกสัตว์ จุดไฟเผา • 40% ของ พฤติกรรมเกเร กลายเป็น อันธพาลต่อต้านสังคม
Classification Systems • ICD 10 (WHO,1992)criterion set of items of Conduct disorder(CD) = DSM - IV (APA,1994) Oppositional Defiant Disorder (ODD) + Conduct Disorder items (CD) (Angold & Costello,2001)
Oppositional Defiant Disorder (ODD) • Loses temper • Argues with adult • Defies or refuses to comply with adults’ requests or rules • Deliberately annoys people • Blames others for his mistakes or misbehavior • Easily annoyed by others • Angry & resentful • Spiteful or vindictive (APA-1994)
Conduct Disorder (CD) • Bullies, threatens others • Initiates physical fights • Has used a weapon • Physically cruel to people , animals • Has stolen while confronting a victim • Has forced someone in to sexual activity • Has deliberately engaged in fire setting • Has deliberately destroyed others’ property • Often lies to con others (APA-1994)
Conduct Disorder (CD- continued) • Has stolen items of nontrivial value without confronting the victim • Outlate without permission, before age 13 • Has run away from home over night at least twice • Often truant from school, before age 13 • Has broken into someone else’s house, building or car (APA-1994)
ปัจจัยเสี่ยงด้านชีวภาพ-จิต-สังคมปัจจัยเสี่ยงด้านชีวภาพ-จิต-สังคม ชีวภาพ BIO จิต PSYCHO สังคม SOCIAL
การศึกษาวิจัยเด็กและเยาวชนในสถานแรกรับสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนภาคเหนือคดียาเสพติดและลักทรัพย์การศึกษาวิจัยเด็กและเยาวชนในสถานแรกรับสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนภาคเหนือคดียาเสพติดและลักทรัพย์ พบปัจจัยของเด็ก เกี่ยวข้องกับ ภาวะวิตกกังวล และซึมเศร้า ๕๘ % สมาธิสั้น ๕๖ % พฤติกรรมก้าวร้าว เกเร ๔๐ % สมัย ศิริทองถาวร,๒๕๔๐ (1997)
การทบทวนงานวิจัยพฤติกรรมเกเร(Conduct Disorder)ในระยะ10 ปี(1991-2000) พฤติกรรมเกเร เกี่ยวข้องโดยตรงกับการใช้สารเสพติด และมีอารมณ์ซึมเศร้านำมาก่อน(Boyle,Offord,1991) พบปัญหาโรคทางจิตเวช46%สมาธิสั้น35% (Oxford et al.,1992) พฤติกรรมเกเรเกี่ยวข้องกับ การขาดการยับยั้งชั่งใจในเด็กผู้ชาย(Caspi, White et al.,1994)
งานวิจัยในนิวยอร์คการใช้สารเสพติดประเภทกัญชาและสารผิดกฎหมายในเด็กวัยรุ่น ๕๐๐ คน (อายุ ๑๖-๒๑ปี) ติดตามนาน ๑๐ปี พบมีความเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์โกรธ เข้ากับคนอื่นไม่ได้ ไม่ยอมใคร การทะเลาะรุนแรง ระหว่างพี่น้อง Book JS,1995
พฤติกรรมเกเรที่รุนแรงในวัยเด็กพฤติกรรมเกเรที่รุนแรงในวัยเด็ก พบปัจจัยร่วม คือ • สมาธิสั้นและการขาดการยับยั้งชั่งใจ เสี่ยงต่อการก่อคดี (Babinski et al.,1999) • การเลี้ยงดูที่บกพร่อง(Loeber et al.,2000) • ผู้ปกครองซึมเศร้า, ใช้สารเสพติด, มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม(Faraone et al.,1991,1977;Biederman et al.,1992) • พฤติกรรมเกเรที่พบในเด็กสมาธิสั้น มีความรุนแรงและต่อเนื่อง มากกว่าเด็กทั่วไปกลายเป็นพฤติกรรมต่อต้านสังคมตอนวัยรุ่น (งานวิจัย 6เรื่อง ตั้งแต่ปี ค.ศ.1988-1997)
งานวิจัยเด็กเล็ก เด็กที่ระเบิดอารมณ์ อาละวาดรุนแรง ตั้งแต่อายุ 3ปี มีความเสี่ยงเป็นผู้ใหญ่ที่ก่อคดี(Adult Offender) (Moffitt,1996;Goodman R,2001) พฤติกรรมเกเรในเด็กเล็ก (Childhood onset) ตั้งแต่อายุ 5-10ปีมีความเสี่ยง ก้าวร้าวรุนแรงและต่อต้านสังคม ในช่วงวัยรุ่นและผู้ใหญ่ (Lahey et al,1998;Loeber,Burke,Lahey,2000)
Early onset CD (Life Course Persistence) • More fights, conviction for violent offences • Aggressions in several domain • Higher rate of hitting their children, more disagreement at work in adult life (Moffitt et al., in press) • CD males age of onset less than 10 yrs are 8.7 times more aggressive than later age CD (Lahey et al., 1998)
Late Onset CD • Become delinquent as a result of social influences • Seeking social status • Association with other delinquent youths
Moffitt et al., 1995 • LATE onset CD are associated with a gap between expectations and achievements • Likely to limit when they acquire the previledges and material goods to which they aspire. (By age26)
Cambridge study in Delinquent Development(411 from age 8) Antisocial behavior in adolescence (late onset) continue to commit undetected crimes in adult life, although their work performance and close relationships were not impaired (Nagin,Farrington,&Moffitt,1995)
LATE onset CD( age>10 yrs) • are associated with a gap between expectations and achievements • Likely to limit when they acquire the previledges and material goods to which they aspire. (By age26) Moffitt et al., 1995
Psychopathy • 50-80% adult offenders ASP • Psychopathy 15-30 % • Characteristics: Grandiosity, callousness, deceitfulness, shallow affect and lack of remorse (Hare,Hart,&Harpar,1991;Robins,Tipp,&Pryzbeck,1991) ADHD & CD are at most risk for subsequent psychopathy
บุ ค ลิ ก ภ า พ ผิ ด ป ก ติ 46 % ของกลุ่มที่ติดสารเสพติดมีบุคลิกภาพผิดปกติ ที่พบบ่อย คือ บุคลิกภาพแบบ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย (Borderline) 28.5 % หลบเลี่ยง (Avoidant) 21.5 % พึ่งพา(Dependent )14.5 % ต่อต้านสังคม ( Antisocial) 3.5 % พฤติกรรม เกเร ในวัยเด็ก ร่วมกับสมาธิสั้น (ADHD) มีโอกาสเกิด บุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม มากกว่าเด็กปกติ 9 เท่า
Cambridge Study inDelinquent Development ปัจจัยเสี่ยงการเลี้ยงดู (ที่ทำนายการก่อคดี) • การบังคับรุนแรง • ปล่อยละเลย หรือยอม ตามใจมาก • ขาดการชี้แนะ (Farrington,2002)
Risk Factors • Temperament Age 2 yrs maternal aggression • LACK OF CONTROL Age 3-5 yrs violence at age 18 yrs • Number of parental changes • Negative emotional parenting
CNS (EVOLUTION OF BRAIN) • BAS (Behavioral activating system) Dopamine • BIS (Behavioral inhibiting system) Noradrenalin & Serotonin withdrawn & anxious aggression • Attentional problem • Anterior cingulate cortex conscious effortful behavior control
Verbal deficits • Poor verbal skill & verbal memory • Low verbal IQ scores • Poor vocabularies to describe • Emotions • Learning & problem solving skill
Executive dysfunction • Posterior DLF poor association between two sets of stimuli • Perinatal complications • Maternal smoking • Prematurity • Obstetric complications • Maternal rejection
Physical abuse • 28% of abused group had significant conduct problemsin grades 3 and 4(507 recruited from kindergarten) (Dodge et al,1995) Information processing Encoding Errors , hostile attribution, favouring aggressive responses Aggressive children judge peers’ intentions as hostile (Guerra&Slaby,1989;Waas,1988;Waldman,1996)
Parental practices • Inconsistentuse of rules • Unclear commands • Depend on the basis of mood • Less monitor children whereabouts • Unresponsive to prosocial behavior • Hostile,critical,punitive,coercive • Positive parental behavior Reasoning, negotiation,give responsibility Humor and incentive
ปัจจัยครอบครัวเสี่ยง • พ่อ แม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยตัวคนเดียว • ฐานะยากจน • สุขภาพจิตของผู้ปกครอง • ภาวะว่างงาน • ครอบครัวใหญ่ • การกระทำผิด ก่อคดีในครอบครัว (Utting D,2004)
ปัจจัยครอบครัวที่ป้องกันการกระทำผิดปัจจัยครอบครัวที่ป้องกันการกระทำผิด • การชี้แนะจากมารดา • กิจกรรมที่มีส่วนร่วมบ่อยๆในครอบครัว • การกำกับเวลาและวินัย • การสนับสนุน ช่วยเหลือ ฝึกสอนครอบครัวตั้งแต่ต้น • ลดความเครียด และความขัดแย้งภายในครอบครัว (Garden F,2003,2004;Supplee LH et al,2004)
ปัจจัยครอบครัวที่ป้องกันการกระทำผิดปัจจัยครอบครัวที่ป้องกันการกระทำผิด • กฎของบ้าน • การติดตาม เฝ้าระวัง • ความผูกพันและช่วยเหลือกัน ( Oxford ML et al., 2000)
งานวิจัยในประเทศไทย • ปัจจัยเสี่ยง • ความนับถือตัวเองต่ำ • ครอบครัวแตกแยก • ความสัมพันธ์ที่ไม่ดีกับคนในครอบครัว • ขาดที่ปรึกษาเวลามีเรื่องทุกข์ใจ (สุวรรณา เรืองกาญจน์เศรษฐ,อุมาพร มาตังคสมบัติ)