830 likes | 986 Views
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร. โดย. สนิท อินเตอร์เน็ต. สมาชิกกลุ่ม 5. นายนิวัตน์ พิริยกิจโกศล เลขที่ 29 นายอัมพร โพธิ์แก้ว เลขที่ 33 นายภัทร ทีปกาญจน์ เลขที่ 35
E N D
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร
สมาชิกกลุ่ม 5 นายนิวัตน์ พิริยกิจโกศล เลขที่ 29 นายอัมพร โพธิ์แก้ว เลขที่ 33 นายภัทร ทีปกาญจน์ เลขที่ 35 นายวิชาญ วิวัฒนวาณิชย์ เลขที่ 36 นายพงษ์สิทธิ์ อมรฐิติพงศ์ เลขที่ 39
ระบบการควบคุม สินค้าคงเหลือและการผลิต
ระบบการผลิต แบ่งการบริหารสินค้าคงเหลือได้เป็น 2 ประเภท 1. ขั้นตอนเกี่ยกับการผลิต 2. ขั้นตอนที่เกี่ยวกับสินค้าที่ผลิตสำเร็จแล้ว
การผลิต กิจกรรมด้านการซื้อ กิจกรรมด้านการผลิต วงจรการผลิต วัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างทำ แผนผังการบริหารสินค้าคงเหลือ
ระบบข้อมูลทางการบัญชีที่มีอยู่จะต้องออกแบบให้มีคุณลักษณะดังนี้ระบบข้อมูลทางการบัญชีที่มีอยู่จะต้องออกแบบให้มีคุณลักษณะดังนี้ 1. มีการบันทึกดำเนินงานต่าง ๆ ในเรื่องสินค้าคงเหลือไว้ทั้งหมดและสอดคล้องกับอำนาจหน้าที่โดยทั่วไป 2. มีการบันทึกขั้นตอนการดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือไว้ในลักษณะที่ ก. สามารถจัดทำรายการสถานภาพทางด้านการเงินโดยสอดคล้องกับหลักทางบัญชี ข. อำนวยให้สามารถทำบัญชีสินค้าคงเหลือได้ทั้งหมด
3. มีการควบคุมนำสินค้าคงเหลือไปใช้งานให้สอดคล้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหารแต่ละระดับ 4. มีความแตกต่างน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ระหว่างสินค้าคงเหลือที่บันทึกกับที่มีอยู่จริง 5. สามารถสนันสนุนข้อมูลที่ต้องการในการวินิจฉัยสั่งการด้านธุรกิจได้ในเวลาที่ต้องการ
ประเภทของการดำเนินงานด้านสินค้าคงเหลือ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 1. การดำเนินการซึ่งกระทบต่อจำนวนสินค้าคงเหลือ 2. การดำเนินการซึ่งกระทบต่าค่าใช้จ่ายสินค้าคงหลือ 3. การดำเนินการซึ่งกระทบต่อข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลัก ( Master File)ของสินค้าคงเหลือ
ในการทำแฟ้มข้อมูลหลักด้านสินค้าคงเหลือ จะต้องแยกออกทั้ง 3 ประเภท ตามแวดล้อมของการผลิต โดยพิจารณาแบบฟอร์มและระเบียบต่าง ๆ ที่ใช้ควบคุมขั้นตอนการดำเนินการ
แผนผังแสดงเอกสารที่เกี่ยวข้องในระบบบริหารสินค้าคงเหลือแผนผังแสดงเอกสารที่เกี่ยวข้องในระบบบริหารสินค้าคงเหลือ ใบเสนอซื้อ ใบสั่งซื้อ วัตถุดิบ ใบรับของ ใบเบิก วัตถุดิบ ใบเบิก วัตถุดิบ นำไปใช้ในการผลิต ขบวนการซื้อวัตถุดิบ
(ต่อ) ใบเบิก วัตถุดิบ ใบสินค้าทำเสร็จ บัตรเวลา งานระหว่างทำ ค่าใช้ในการผลิต ส่งไปฝ่ายควบคุมสินค้าสำเร็จรูป ขบวนการผลิต
(ต่อ) ใบสินค้าทำเสร็จ ใบตราสาร (ใบกำกับสินค้า) สินค้าสำเร็จรูป ใบสั่งขาย ส่งไปฝ่ายจัดส่งสินค้า ขบวนการขานสินค้า
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศทางการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือในขั้นของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศทางการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือในขั้นของ วัตถุดิบใบรับของ งานระหว่างทำ ใบเบิกของ สินค้าสำเร็จรูป ใบต้นทุนงาน
ส่วนประกอบของระบบควบคุมสินค้าคงเหลือส่วนประกอบของระบบควบคุมสินค้าคงเหลือ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นในการดำเนินการบริหารสินค้าคงเหลือ ตลอดจนการเตรียมข้อมูลด้วยมือ(data preparation) การดำเนินการอย่างมีระบบและการจัดการหน่าวยงานที่ดีมีผลอย่างมากที่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพต่อระบบสินค้าคงเหลือ
รายงานทางการบัญชีเพื่อการจัดการรายงานทางการบัญชีเพื่อการจัดการ ของระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
รายงานข้อมูลสำหรับการบริหารสินค้าคงเหลือ มักจะออกแบบให้สามารถทำหน้าที่ดังต่อไปนี้ คือ 1. วิเคราะห์สินค้าคงเหลือ 2. บ่งชี้สถานภาพสินค้าคงเหลือ 3. สามารถใช้ช่วยในการวางแผนและการประสานงานระหว่างระบบสินค้าคงเหลือและระบบงานอื่น
แม้ว่าจะมีการแยกข้อมูลด้านวัตถุดิบต่างหากจากข้อมูลสินค้าสำเร็จรูปก็ตาม หลักการออกแบบรายงานทางการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับวัตถุดิบ ก็สามารถนำไปใช้กับสินค้าสำเร็จรูปได้เช่นเดียวกัน ดังนั้น ในเรื่องนี้จะกล่าวถึงเฉพาะรายงานทางการบัญชีเพื่อการจัดการวัตถุดิบ
ข้อมูลในเรื่องจำนวนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับวัตถุดิบจะถูกบันทึกไว้เป็นประจำวันในทะเบียนหรือแฟ้มข้อมูลหลัก วัตถุดิบคงเหลือ ทั้งนี้นับตั้งแต่การจัดหา การรับพัสดุ การควบคุมการผลิต และการจัดทำบัญชีต่างๆ ข้อมูลดังกล่าวนี้มีไว้สำหรับการวิเคราะห์และจัดทำรายงานตามระยะเวลา
ระบบคอมพิวเตอร์จะตรวจสอบยอดวัตถุดิบคงเหลือแต่ละรายการกับรายการตรวจสอบและจะวิเคราะห์โดยอัตโนมัติ แล้วพิมพ์สิ่งที่จำเป็นต้องทราบ เช่น ระดับวัตถุดิบที่ต้องสั่งซื้อเพิ่ม (Reorder point) พิมพ์ใบเสนอซื้อเพื่อส่งไปให้แผนกจัดหา และเพื่อเป็นการทบทวนตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง ก็จะมีการพิมพ์ยอดวัตถุดิบแยกตามประเภทของวัตถุดิบออกมาใช้เปรียบเทียบอีกด้วย รายงานที่มีประโยชน์มากอีกรายงานหนึ่งคือ รายการวัตถุดิบที่ถึงระดับสมควรสั่งซื้อเพิ่ม ซึ่งจะใช้รายงานนี้ไปตรวจสอบเปรียบกับใบรายชื่อวัตถุดิบเสนอซื้อเพิ่ม เพื่อให้สามารถพิจารณาบริหารงานวัตถุดิบคงเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพดีขึ้นอีกด้วย
เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์สามารถแสดงข้อมูลสถิติสถานภาพการใช้วัตถุดิบแต่ละรายการทั้งปัจจุบัน รอบเดือน รอบ 4 เดือน หรือรอบปีได้ การดึงข้อมูลสถิติด้านการใช้วัตถุดิบไม่ว่าจะในลักษณะใดนั้นกระทำได้ง่ายและเนื่องจากระบบสามารถต่อถึงกันด้วยระบบคมนาคมแบบ on line ทำให้สามารถถ่ายเทข้อมูลได้ทันที ดังนั้นแม้คลังวัตถุดิบและหน่วยดำเนินงานต่าง ๆ จะอยู่ห่างกันมาก็ตาม การดำเนินงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์จะไม่มีข้อจำกัดด้าน “เวลา” และ “ระยะทาง” แต่อย่างใด ส่วนในด้านการปฏิบัติด้านวัตถุดิบ หากคลังวัตถุดิบอยู่ห่างจากฝ่ายการผลิต จะต้องมีมาตรการควบคุมการขนส่งวัตถุดิบเพิ่มขึ้นจากปกติ เช่น อาจใช้ใบแนบวัตถุดิบจ่าย ซึ่งออกตามทะเบียนการเบิกจ่ายวัตถุดิบ และเมื่อขนวัตถุดิบไปถึงฝ่ายผลิตแล้ว เจ้าหน้าที่จะฉีกส่วนล่างของใบแนบวัตถุดิบเบิกจ่ายไปส่งให้ฝ่ายควยคุมวัตถุดิบคงเหลือเพื่อลงรายการเบิกจ่ายในแฟ้มข้อมูลต่อไป
รายงานในเรื่องสถานภาพวัตถุดิบคงเหลือรายงานในเรื่องสถานภาพวัตถุดิบคงเหลือ
ในองค์การใหญ่ๆ จะมีระบบวัตถุดิบคงเหลือสำหรับวัตถุดิบหลายประเภท เช่น พัสดุที่ใช้ในการผลิตวัสดุสำนักงาน พัสดุที่ใช้ในการซ่อมบำรุง ชิ้นส่วนสำรอง ตลอดจนวัตถุดิบและสินค้าที่ผลิตสำเร็จแล้ว คือรายงานสำหรับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตโดยตรงที่ถูกใช้ในการผลิตโดยการชั่งน้ำหนักปอนด์ (pound) และวัตถุดิบสิ้นเปลือง คลังพัสดุต่าง ๆ ตลอดจนฝ่ายควบคุมการผลิตจะใช้รายงานดังกล่าว ประกอบการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการและประสานงานในเรื่องที่เกี่ยวกับการผลิตและด้านการเก็บวัตถุดิบคงเหลือ ส่วนฝ่ายบัญชีจะนำข้อมูลราคาเฉลี่ย/น้ำหนักของพัสดุแต่ละรายการมาช่วยในการกำหนดต้นทุนหรือราคาตลาดอย่างใดที่ต่ำกว่า
ข้อมูลที่นำมาใช้ในระบบควบคุมสินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ คือ ข้อมูลการผลิต ยอดขาย ใบสั่งซื้อของลูกค้า และสินค้าส่งคืนจะนำไปแก้ไขในแฟ้มข้อมูลด้านสินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ แล้วจากข้อมูลในแฟ้มนี้จะนำไปคำนวณหาทุนหรือค่าใช้จ่ายในเรื่องการผลิต นอกจากนี้ยังต้องมีการจำแนกให้เห็นชัดเจนว่าผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสำเร็จแล้วนั้นสิ่งใดเป็นสินค้าที่ผลิตตามใบสั่งซื้อของลูกค้า ส่วนใดเป็นสินค้าที่ว่างสามารถนำไปขายได้ ฝ่ายการตลาดจะนำข้อมูลนี้ไปใช้ในการพิจารณาหาตลาดตลอดจนให้คำชี้แจงแก่ลูกค้าถึงสถานภาพการสั่งซื้อของลูกค้าแต่ละราย นอกจากนี้ยังมีรายงานสรุปอื่นๆ อีกมากที่ใช้กันอยู่ในบริษัทระดับที่กล่าวดังนี้ แต่ไม่ได้นำมาชี้แจงในที่นี้เนื่องจากลักษณะแบบฟอร์มคล้ายคลึงกับที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นส่วนมาก
การตรวจนับสินค้าคงเหลือการตรวจนับสินค้าคงเหลือ
การตรวจนับจำนวนสินค้าคงเหลือเป็นหน้าที่สำคัญส่วนหนึ่งของการทำบัญชี คลังต่าง ๆ จะจัดให้มีการตรวจนับตามระยะเวลา เพื่อปรับแก้ไขจำนวนให้ตรงกัน การตรวจนับสินค้าคงเหลือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการควบคุม ไม่ว่ากิจการจะใช้วิธีการบันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง (perpetual) หรือแบบสิ้นงวด (pereodic)เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องคล้องจองระหว่างจำนวนสินค้าที่มีอยู่จริงกับจำนวนสินค้าตามสมุด การตรวจนับที่ดีจะต้องมีการวางแผนและการควบคุมที่รัดกุมตามขั้นตอนที่วางไว้ การบริหารงานสินค้าคงเหลือนั้นเพื่อที่จะให้ได้ระดับสินค้าเหลือที่ให้ประโยชน์สูงสุดจะต้องขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ หลายปัจจัยและบางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงจะต้องทราบวัตถุประสงค์ที่แน่นอนของบริษัทความต้องการที่แท้จริง เวลาที่สามารถดำเนินการจัดหาได้มาตรการรักษาความปลอดภัยและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเงินและงบประมาณ เช่น
1. จำนวนเงินลงทุนที่น้อยที่สุดในระบบสินค้าคงเหลือ (คิดรวมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับบริษัท) 2. จำนวนพัสดุในคลังระดับต่ำสุดและค่าดำเนินการ (เกี่ยวข้องกับบริษัทโดยส่วนรวมและฝ่ายบริหารสินค้าคงเหลือ) 3. การรักษาระดับสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม เพื่อจะเบิกจ่ายให้สายการผลิตในอัตราปกติ (เกี่ยวข้องกับฝ่ายผลิต) 4. ความต้องการสินค้าคงเหลือสำรองสำหรับกรณีที่คาดไม่ถึง (เกี่ยวข้องกับฝ่ายผลิตและฝ่ายจัดหา) 5. การป้องกัน การเก็บสินค้าคงเหลือที่เก่าพ้นสมัยไว้ (เกี่ยวข้องกับฝ่ายบริหารสินค้าคงเหลือและฝ่ายจัดหา)
6. การกำหนดระดับจำนวนสั่งซื้อโดยประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุด (EOQ) (เกี่ยวข้องกับฝ่ายบริหารสินค้าคงเหลือและฝ่ายจัดหา สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการผลิตในโรงงานนั้น จะมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและต่ำกว่ามาตรฐานหรือเกรดสอง ซึ่งจะต้องแยกระบบสินค้าคงเหลือเป็นคนละระบบ ส่วนสินค้าที่ลูกค้าส่งคืนสินค้าไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด ๆ (สินค้าเครดิตที่ขายไม่หมดแล้วส่งคืน หรือสินค้าที่ลูกค้าส่งคืน (Refund) ก็จะต้องจำแนกไว้โดยรหัสพิเศษ เพื่อที่จะไม่คิดต้นทุนในการผลิตซ้ำ แต่จะมีต้นทุนในเรื่องค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ค่าใช้จ่ายในการส่งคืน ฯลฯ
ฐานข้อมูลของระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือฐานข้อมูลของระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ผังภาพการดำเนินงานประมวลผลวัตถุดิบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ผังภาพการดำเนินงานประมวลผลวัตถุดิบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
รายการ สินค้าคงเหลือ แฟ้มถาวร สินค้าคงเหลือ การประมวลผล วัตถุดิบ แฟ้มใบสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลเพื่อนำ เข้าระบบงานอื่น แฟ้มข้อมูล รายการค้าอื่น ๆ แฟ้มถาวรสินค้า คงเหลือ (ปรับปรุงแล้ว) ฐานข้อมูล (ปรับปรุงแล้ว) 1.รายการรับ 4.ปรับปรุง 2.โอน 5.ส่งคืน 3.เบิก
ผังภาพการดำเนินงานประมวลผลสินค้าสำเร็จรูปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ผังภาพการดำเนินงานประมวลผลสินค้าสำเร็จรูปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
แฟ้มสั่งซื้อ และสินค้าส่งคืน รายการ สินค้าคงเหลือ แฟ้มหลัก การสั่งซื้อ แฟ้มข้อมูลเพื่อ ระบบงานอื่น แฟ้มหลัก ตามรูปแบบ การประมวลผล สินค้าสำเร็จรูป แฟ้มหลัก สินค้าคงเหลือ (ปรับปรุงแล้ว) แฟ้มหลัก ตามราคาทุน ฐานข้อมูล (ปรับปรุงแล้ว) แฟ้มหลักอื่น ๆ (ปรับปรุงแล้ว) แฟ้มสินค้า ผลิตเสร็จ
กระบวนการประมวลข้อมูลของระบบวัตถุดิบกระบวนการประมวลข้อมูลของระบบวัตถุดิบ
แฟ้มรายการที่ เกี่ยวกับวัตถุดิบ รายการค้า สินค้าคงเหลือ แฟ้มที่ถูก จัดเรียงแล้ว ป้อนข้อมูล ลงเทป จัดเรียงตามเลขที่วัตถุดิบ การตรวจความถูกต้อง แฟ้มที่ถูก จัดเรียงแล้ว รายงานตาม รหัสวัตถุดิบ รายการค้า อื่น ๆ การประมวลผล (1) การปรับปรุงข้อมูล แฟ้มหลัก สินค้าคงเหลือ (ปรับปรุงแล้ว) แฟ้มที่ถูก จัดเรียงแล้ว จัดเรียง ตามสถานที่ แฟ้มหลัก สินค้าคงคลัง จากระบบ งานอื่น แฟ้มที่ถูก จัดเรียงแล้ว โอน การประมวลผล (2) การพิมพ์รายงาน เบิก สถานภาพ
กระบวนการประมวลผลข้อมูลของระบบสินค้าสำเร็จรูปกระบวนการประมวลผลข้อมูลของระบบสินค้าสำเร็จรูป
ขายและ สินค้ารับคืน จากระบบ งานอื่น แฟ้มรายการ ค้าประจำวัน แฟ้มที่ จัดเรียงแล้ว เครื่องมือ ตอกลงเทป จัดเรียงตาม แบบ/ประเภท ข้อมูล การผลิต แฟ้มที่ จัดเรียงแล้ว 1 1 แฟ้มข้อมูลหลัก ตามแบบ/ประเภท แฟ้มสินค้าหลัก ที่ถูกจัดเรียงแล้ว แฟ้มสินค้าหลัก ที่กำหนดแบบ และราคาแล้ว จัดเรียงตาม สถานที่เก็บ การประมวลผล ราคาทุน 2 แฟ้มสินค้าหลัก ที่ถูกจัดเรียงแล้ว รายการเพื่อ การจัดการต่าง ๆ การประมวลผล เพื่อจัดทำรายงาน
3 รายละเอียด รายการค้า แฟ้มสินค้าหลัก ที่ถูกจัดเรียงแล้ว ในอาทิตย์ การประมวลผล ประจำเดือน 1 แฟ้มรายการค้า 4 แฟ้มรายการค้า รายงานเกี่ยวกับ สินค้าคงเหลือ การประมวลผล ประจำรอบบัญชี 5 แฟ้มรายการค้า รายงานการวิเคราะห์ สินค้าคงเหลือ แฟ้มที่ถูก จัดเรียงแล้ว การประมวลผล จัดเรียงตาม วันที่ผลิต แฟ้มรายการค้า รายงานการ ผลิตตามสั่ง 6 การประมวลผล รายงานสินค้า คงเหลือมีไว้ขาย แฟ้มหลัก ใบสั่งขาย
การควบคุมระบบสินค้าคงเหลือด้วยคอมพิวเตอร์การควบคุมระบบสินค้าคงเหลือด้วยคอมพิวเตอร์ การควบคุมระบบสินค้าคงเหลือด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งพิจารณาได้ 3 ขั้นคือ 1.การควบคุมข้อมูลนำเข้า (Input Control) 1.1 การกำหนดข้อมูลนำเข้า 1.2 การเตรียมข้อมูลนำเข้าและการตรวจสอบการลงรหัส 1.3 การตรวจสอบเส้นทางเคลื่อนที่ของข้อมูล 1.4 ขั้นตอนการจัดการเกี่ยวกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น 2.การควบคุมการดำเนินการ (Processing Control) 3.การควบคุมข้อมูลนำออก (Output Control)
วงจรการผลิต คือวงจรที่เกี่ยวกับการแปลงสภาพทรัพยากรที่มีอยู่ในกิจการให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปตามคำสั่งผลิตของลูกค้า
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรการผลิตกระบวนการปฏิบัติงานในวงจรการผลิต ส่วนที่ 1กระบวนการวางแผนการผลิตในส่วนของการจัดทำตารางการผลิตและใบสั่งผลิต ส่วนที่ 2กระบวนการเบิกวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต ส่วนที่ 3กระบวนการบันทึกเวลาปฏิบัติงานของพนักงานในหน่วยผลิต ส่วนที่ 4กระบวนการบันทึกรายการสินค้าที่ผลิตเสร็จและผ่านการตรวจสอบคุณภาพ สำหรับรายละเอียดของกระบวนการปฏิบัติงานในวงจรการผลิตทั้ง 4 ส่วน
แฟ้มข้อมูล รายการสั่งสินค้า แฟ้มข้อมูลหลัก ของสินค้าคงเหลือ สินค้าสำเร็จรูป แฟ้มข้อมูลการ พยากรณ์การ ขาย จากลูกค้า ลักษณะของสินค้า รายการข้อมูล ผิดพลาด ป้อนข้อมูล คำนวณจำนวน ที่ต้องผลิต บันทึกข้อมูล แฟ้มข้อมูลของ จำนวนสินค้า ที่ต้องผลิต ลักษณะสินค้า แฟ้มข้อมูลราย ละเอียดของ วัตถุดิบที่ต้องใช้ แฟ้มข้อมูลลำดับ การใช้เครื่องจักร ที่ผลิต N X กระบวนการวางแผนการผลิตในส่วนของการจัดทำตารางการผลิตใบสั่งผลิต
แฟ้มข้อมูลหลัก ของสินค้าคงเหลือ วัตถุดิบ X แฟ้มข้อมูล ตารางการผลิต จัดทำตารางการผลิต คำสั่งผลิต คำนวณวัตถุดิบที่ต้องใช้ตรวจสอบ ความเพียงพอของวัตถุดิบ บันทึก ข้อมูลลงในแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และจัดพิมพ์เอกสาร แฟ้มข้อมูลของ หน่วยงานที่ ทำการผลิต แฟ้มข้อมูล การสั่งผลิตที่ ยังไม่สมบูรณ์ ใบเบิกวัตถุดิบ ตารางการผลิต ใบสั่งผลิต รายงานวัตถุดิบที่ ต้องใช้ในการผลิต ใบสั่งผลิต ผู้บริหารการผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายผลิต ต่อ
จากฝ่ายผลิต จัดทำโดยเจ้าหน้าที่ ใบเบิกวัตดิบ แฟ้มข้อมูลหลัก ของบัญชี แยกประเภททั่วไป รายการข้อมูล ผิดพลาด ป้อนข้อมูล แฟ้มข้อมูล ของหน่วยงาน ที่ทำการผลิต ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลปรับปรุงแฟ้มข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง และจัดพิมพ์รายงาน แฟ้มข้อมูลหลัก ของสินค้าคงเหลือ วัตถุดิบ แฟ้มข้อมูล ที่สั่งผลิตที่ ยังไม่สมบูรณ์ แฟ้มข้อมูล งานระหว่างทำ รายงานการเบิกวัตถุดิบ ใบเบิกวัตถุดิบ ผู้บริหารคลังสินค้า N กระบวนการเบิกวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต