1 / 18

การเปลี่ยนสีของ สารละลายบ รอมไทมอ ลบลู ซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์

การเปลี่ยนสีของ สารละลายบ รอมไทมอ ลบลู ซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์. ตารางบันทึกผล. กระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Respiration) เป็นกระบวนการที่เซลล์มีการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน โดยไม่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย

lee-glover
Download Presentation

การเปลี่ยนสีของ สารละลายบ รอมไทมอ ลบลู ซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์

  2. ตารางบันทึกผล

  3. กระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบไม่ใช้ออกซิเจนกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Respiration) • เป็นกระบวนการที่เซลล์มีการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน โดยไม่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย • พบได้สิ่งสิ่งมีชีวิตพวกโพรคาริโอต (Prokaryote) • ผลผลิตสุดท้ายของกระบวนการการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน คือ CO2สารอินทรีย์ที่อยู่ในสภาพรีดิวซ์(NAD+) และ ATP

  4. การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic  respiration) • ประกอบด้วย2  ขั้นตอนคือ 1.ไกลโคลิซีส (Gycolysis) 2.การหมัก(Fermentation) การสลายกลูโคสในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนของยีสต์  ซึ่งจะเกิดกระบวนการหมักแอลกอฮอล์

  5. การหมักแอลกอฮอล์ถูกนำมาใช้ประโยชน์ ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่นเบียร์สุรา ไวน์ชนิดต่าง ๆ ปัจจุบันได้มีการนำความรู้นี้ไปผลิตแอลกอฮอล์จากของเหลือใช้เช่น - การผลิตแอลกอฮอล์จากกากน้ำตาล มีผลทำให้ลดปัญหามลภาวะจากกากน้ำตาลได้เป็นจำนวนมาก • แอลกอฮอล์ยังเป็นสารที่มีพลังงานแฝงอยู่มาก สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ • ยีสต์จะหมักแอลกอฮอล์ได้สูงสุดประมาณ 12 % (ถ้าสูงกว่านี้จะเป็นอันตรายต่อเซลล์)

  6. ยีสต์แซคคาโรไมซิส ซิริวิซิอี ( Saccharomycescerevisiae) ยีสต์ในลูกแป้ง คือ แซคคาโรไมคอปซิสฟิบูลิจอร่า (Saccharomycopsisfibuligera )

  7. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ - กรดแลกติกที่เกิดจากกระบวนการหมักจะมีการลำเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ  เพื่อสังเคราะห์กลับเป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ต่อไปได้  - ส่วนกรณีการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นพบว่าเป็นผลมาจากการสะสมของกรดต่างๆ  ที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลโคลิซิส ดังนั้นถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นของกรดแลกติกสูงก็จะไม่มีอาการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อ  ถ้าร่างกายสามารถรักษาสมดุลของกรด ไว้ได้

  8. เลือดลำเลียงO2ให้ไม่ทัน เซลล์จะมีการสลายอาหารโดยไม่ใช้ O2กระบวนการนี้คล้ายการสลายของยีสต์ แต่ NADHจะผันกลับเป็นNAD+โดยการถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้กับกรดไพรูวิกเกิดเป็นกรดแลกติกเลือดลำเลียงO2ให้ไม่ทัน เซลล์จะมีการสลายอาหารโดยไม่ใช้ O2กระบวนการนี้คล้ายการสลายของยีสต์ แต่ NADHจะผันกลับเป็นNAD+โดยการถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้กับกรดไพรูวิกเกิดเป็นกรดแลกติก

  9. การสลายกลูโคสในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อซึ่งจะเกิดกระบวนการหมักกรดแลกติกการสลายกลูโคสในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อซึ่งจะเกิดกระบวนการหมักกรดแลกติก

  10. กรดแลกติกที่เกิดขึ้นในเซลล์กล้ามเนื้อมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างไรกรดแลกติกที่เกิดขึ้นในเซลล์กล้ามเนื้อมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างไร กรดแลกติกจะถูกลำเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์เป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ต่อไปได้

  11. การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้O2เกิดขึ้นได้ทั้งในพืชสัตว์และจุลินทรีย์ตัวอย่างเช่น  พืชที่อยู่ในภาวะน้ำท่วม  ทำให้รากได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ  เซลล์ที่รากจึงต้องสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน  เป็นต้น

  12. กระบวนการหมักกรดแลกติกที่เกิดขึ้นได้ในจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียบางชนิด มนุษย์นำประโยชน์จากกระบวนการหมักของจุลินทรีย์มาใช้ผลิตอาหารกระบวนการหมักกรดแลกติกที่เกิดขึ้นได้ในจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียบางชนิด มนุษย์นำประโยชน์จากกระบวนการหมักของจุลินทรีย์มาใช้ผลิตอาหาร ภาพแบคทีเรียแลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus)

  13. ประโยชน์ จากกระบวนการหมัก เต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยว โยเกิร์ต นมเปรี้ยว

  14. ผักดอง ผลไม้ดอง

  15. สรุปการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนสรุปการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน 1.        อาหารสลายตัวไม่สมบูรณ์ (ปฏิกิริยาการสลายกลูโคสสิ้นสุดลง แค่ขั้นไกลโคลิซีส) 2.        ถ้าเป็นในพืชและยีสต์ผลสุดท้ายจะได้เอทิลแอลกอฮอล์+  CO2 +  2 ATP  สำหรับในสัตว์ผลสุดท้ายได้กรดแลกติก (Lactic  acid) 3.        ถ้าเป็นในพืชและยีสต์เกิด CO2ขึ้นแต่ถ้าเป็นสัตว์ไม่เกิด CO2  ขึ้น 4.        ไม่เกิด H2 O 5.        ได้พลังงานน้อยกว่าการหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน 18 – 19 เท่า 6.        เกิดในไซโทพลาสซึมเท่านั้น

  16. การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนทั้ง2 แบบดังกล่าวเป็นการสลายสารอาหารที่ไม่สมบูรณ์ เพราะเอทิลแอลกอฮอล์และกรดแลกติกที่เป็นผลิตภัณฑ์ของกระบวนการสลายสารอาหารแฝงอยู่จำนวนมาก

  17. เราสามารถนำความรู้เรื่องกระบวนเราสามารถนำความรู้เรื่องกระบวน การหมักไปใช้ทำประโยชน์อะไรบ้าง ใช้ทำอาหาร เช่น เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ นมเปรี้ยว โยเกิร์ตผักดอง ผลไม้ดอง  เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้ำสมสายชู ขนมปัง ฯ

  18. Good byezzzzzzz

More Related