430 likes | 646 Views
คุณสมบัติของนักวิจัย. ศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ์ หอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติ. ทำอย่างไรจึงจะเป็น Independent Researcher ที่ประสบความสำเร็จ ?. สิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติ.
E N D
คุณสมบัติของนักวิจัย ศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ์ หอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติสิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติ • ทำอย่างไรจึงจะเป็น Independent Researcher ที่ประสบความสำเร็จ?
สิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติสิ่งที่นักวิจัยพึงรู้และปฏิบัติ
ความคิดที่เป็นบ่อเกิดความล้มเหลวความคิดที่เป็นบ่อเกิดความล้มเหลว Statistics Calculations Complexity Theoretical Inquiry Difficulty Academic exercise Take time Out of my life Pay more Useless
นักวิจัยพึงรู้ • อะไรคืองานวิจัย/อะไรไม่ใช่งานวิจัย • งานวิจัยที่มีคุณภาพ • ที่มาของปัญหาปัญหาในการทำวิจัย • การทบทวนงานวิจัย
อะไรคืองานวิจัย/อะไรไม่ใช่งานวิจัยอะไรคืองานวิจัย/อะไรไม่ใช่งานวิจัย • งานวิจัยไม่ใช่การรวบรวมข้อมูล: • การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือหรือบทความวิจัย ไม่ใช่งานวิจัย • ขาดการสร้างองค์ความรู้ใหม่ • งานวิจัยไม่ใช่การนำข้อมูลความจริงมาเขียนซ้ำ: • การรวบรวมความจริง/ทฤษฎี/ความรู้จากแหล่งต่างๆ มาเขียนใหม่ ไม่ใช่งานวิจัย • แม้ว่าจะเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ แต่ไม่ได้สร้างองค์ความรู้ใหม่
งานวิจัยคืออะไร? • งานวิจัยคือ: “…กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบที่ประกอบด้วยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล (ผลการศึกษา) เพื่อเพิ่มความเข้าใจในปรากฏการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่เรากำลังสนใจ”
งานวิจัยที่มีคุณภาพ • งานวิจัยที่มีคุณภาพต้อง: • มีขอบเขตและข้อจำกัดของงานให้ชัดเจน • ทดสอบตามมาตรฐานสากล---ผลการทดสอบที่มียอมรับได้/น่าเชื่อถือ • มีขั้นตอนการทำงานที่สามารถทำซ้ำได้ (หากไม่มีมาตรฐานการทดสอบ)---ผลการทดสอบที่มียอมรับได้/น่าเชื่อถือ • มีการวิเคราะห์และอธิบายผลการศึกษาอย่างถูกต้องและน่าสนใจ* • มีบทสรุปที่กระชับและตั้งอยู่บนพื้นฐานของผลการศึกษา
ที่มาของปัญหาในงานวิจัย---พูด/ฟัง/อ่านที่มาของปัญหาในงานวิจัย---พูด/ฟัง/อ่าน • นักวิจัย/นักวิชาการ/ผู้ประกอบการ/.... • งานสัมมนาวิชาการ • ทบทวนงานวิจัย
ปัญหาที่มีคุณค่า • ปัญหาที่มีคุณค่าคือจุดเริ่มต้นของความสำเร็จ • ปัญหาที่มีคุณค่าต้องสร้างทฤษฎีใหม่หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ • ทฤษฎี/องค์ความรู้ใหม่ต้องมีประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมและสามารถใช้งานได้จริง
การทบทวนงานวิจัย • การทบทวนงานวิจัยเป็นสิ่งสำคัญ • ปัญหาที่จะทำงานวิจัยได้มีนักวิจัยอื่นทำไปแล้วหรือยัง? • การทบทวนงานวิจัยเป็นการค้นหาต้นแบบ---List of Reference • การทบทวนงานวิจัย: • เริ่มต้นจากวารสารวิชาการที่มีคุณภาพสูง (ISI และสมาคมวิชาชีพ) • เริ่มต้นจากบทความใหม่ๆ • ไม่ต้องผิดหวัง ถ้าพบว่างานที่คุณจะทำได้มีผู้อื่นทำแล้ว
หลุมพรางในกระบวนการทบทวนงานวิจัยหลุมพรางในกระบวนการทบทวนงานวิจัย • งานวิจัยที่ไม่มี peer review --- เสียเวลา • งานสัมมนาและวารสารคุณภาพสูงเท่านั้นที่ควรพิจารณา เพราะผ่านการประเมิน (peer review) โดยผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน • วารสารที่จัดทำโดยสมาคมต่างๆ เช่น ASCE, ACI, JSCE เป็นต้น • Internet อาจเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญ แต่ก็อาจเป็นแหล่งที่มีข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือได้เช่นกัน (ไม่มี peer review)
เหล็กเสริมที่ใช้ในประเทศไทยเหล็กเสริมที่ใช้ในประเทศไทย
Step 1: การตั้งคำถาม/โจทย์ • เป็นขั้นตอนในการกำหนดขอบเขตของงาน • จากโจทย์ ตอบตัวเองว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องการ • เหล็กเสริมที่มีประสิทธิภาพสูง (ต้นทุนต่ำ ขนส่งง่าย ใช้งานง่าย) • คำนวณ/ออกแบบ? • ใช้งานได้จริง? • Numerical simulation?
Step 2: ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาในลักษณะที่คล้ายกัน • สแกนบทความก่อนอ่านจริง: หัวข้อ บทคัดย่อ บทนำ และบทสรุป • หาบทความที่เกี่ยวข้องจาก • เพื่อหาต้นแบบ • เป็นขั้นตอนในการกำหนดทิศทาง/ขั้นตอนในการทำงาน • Laboratory investigation • Full scale test • Numerical simulation
Step 3: เสนอสมมติฐาน/ทฤษฎีที่เป็นไปได้ • นักวิจัยนำเสนอสมมติฐานในการแก้ปัญหา • ขั้นตอนนี้เป็นเพียงการแก้ปัญหาเบื้องต้น เพราะสมมติฐานที่เสนออาจได้ยอมรับได้หรือถูกปฏิเสธ • เป็นขั้นตอนที่กำหนดบทสรุป
Step 4: รวบรวมข้อมูล/ผลทดสอบ • ทำการศึกษาตามแผนงานที่กำหนด • กำหนดทีมงาน แผนคน และแผนงาน • ทีมงาน---2 ทีม • แผนคน---ทักษะด้านเครื่องมือ ทักษะด้าน computation • แผนงาน---ห้องปฏิบัติการ สนาม การคำนวณ
Step 5: การวิเคราะห์และตีความหมายข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำเสนอความจริงที่น่าสนใจและบทสรุปที่น่าสนใจ • ส่วนที่ยากที่สุดและเป็นหัวใจของงานวิจัย • เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นเฉพาะตน และไม่ซ้ำแบบใคร • เกิดจากประสบการณ์ • สร้างสมมติฐาน/ทฤษฎีใหม่ • ผลงานวิจัยที่ได้: • งานในห้องปฏิบัติการ • งานในสนาม • งานด้าน computation
ทำอย่างไรจึงจะเป็นนักวิจัยอิสระที่ประสบความสำเร็จ?ทำอย่างไรจึงจะเป็นนักวิจัยอิสระที่ประสบความสำเร็จ?
การเป็นจะเป็นนักวิจัยอิสระต้องการเป็นจะเป็นนักวิจัยอิสระต้อง • พัฒนาตนเอง • ทำงานเป็นทีม • หัวใจแห่งความสำเร็จ • ต้องเป็นผู้ร่วมงานและหัวหน้าที่ดี
พัฒนาตนเอง • แม้ว่าสำเร็จปริญญาเอกแล้วก็ตาม การเริ่มทำงานวิจัยอย่างอิสระก็ไม่ใช่เรื่องง่าย • ทำไม? • ขาดการทำงานวิจัยหลังสำเร็จการศึกษา (dead wood) • ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร • เคยแต่เป็นผู้ตามที่ดี • อาจเริ่มต้นจากงานวิจัยที่ทำในขณะเรียนปริญญาเอก และขยายหัวข้อให้ใหญ่ขึ้น
พัฒนาตนเอง • ต้องรู้จักงานวิจัยข้างเคียง (ที่คล้ายกับงานวิจัยที่ทำอยู่) • ต้องมีความสามารถในการเชื่อมโยงความสามารถ/ความเชี่ยวชาญของตนกับงานวิจัยอื่นที่ใกล้เคียงกัน • ต้องสามารถวิเคราะห์/วิจารณ์บทความ (Conference/journal) ที่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญ • มีประโยชน์ในการวิเคราะห์ (Analysis) และอภิปรายผลทดสอบ (Discussion)---สร้างความเชื่อมโยงงานวิจัยที่ทำกับงานวิจัยอื่นได้
พัฒนาตนเอง • ต้องเป็นนักวิจัยเฉพาะด้าน – อย่างน้อย 3 ปี • อะไรคือสิ่งที่สนใจ/เชี่ยวชาญ? • การศึกษางานวิจัย (Literature study) • ต้องรู้/คาดคะเนทิศทางงานวิจัยในปัจจุบันและอนาคต • มีความสามารถในการวิเคราะห์/วิจารณ์บทความ (Review) • เรียนรู้การเขียนบทความ • พัฒนาความรู้ให้ทันสมัยเสมอ
พัฒนาตนเอง • การเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ • ควรถาม ให้ข้อเสนอแนะ และยินดีเมื่อได้รับคำถาม • เป็นโอกาสที่จะทำให้เข้าใจของงานวิจัยที่กำลังทำอยู่/หรือกำลังจะทำมากยิ่งขึ้น • เป็นโอกาสรับฟังของคิดเห็นใหม่ ซึ่งจะเปิดมุมมอง/ความคิดใหม่ • เป็นโอกาสให้วิเคราะห์/สรุปผลการศึกษาได้ดียิ่งขึ้น • พึงตระหนักว่า: เราโจมตีปัญหา ไม่ใช่ผู้นำเสนอ/ผู้พูด
ทำงานเป็นทีม • ทีมเล็ก • อาจารย์ (ต้องเป็น mentor ที่ดี) • นักศึกษา • ทีมใหญ่ (จัดตั้งได้ยากแต่ประสิทธิภาพสูง) • หัวหน้าทีม (ศักยภาพสูงและเป็น mentor ที่ดี) • คณาจารย์ • นักวิจัยหลังปริญญาโท-ปริญญาเอก • นักศึกษาปริญญาโท-เอก • นักวิจัยรับเชิญ
ทำงานเป็นทีม • ทุนวิจัยและโครงการวิจัย • การจัดการงานวิจัย • เผยแพร่ผลงานวิจัย • การสร้างเครือข่าย – เข้าสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้/วิจัย
ทุนวิจัย/โครงการวิจัยทุนวิจัย/โครงการวิจัย • ทำไมต้องมีทุนวิจัย • ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิจัย • ค่าตอบแทนนักวิจัย (Post-graduate และ Post-doctor) • ค่าตอบแทนนักวิจัยรับเชิญ • ค่าอุปกรณ์/เครื่องมือทดสอบ • ค่าติดต่อประสานงาน/เลขานุการ • ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ
ทุนวิจัยและโครงการวิจัยทุนวิจัยและโครงการวิจัย • แหล่งทุน • มหาวิทยาลัย • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) • ภาคเอกชน • โครงการวิจัย • ขึ้นอยู่กับความสามารถของทีม • แก้ปัญหาได้ในเวลาที่กำหนด • ผลงานวิจัยระดับนานาชาติ
การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัยการจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย • อาจเริ่มต้นด้วยการเป็นนักวิจัยร่วมในโครงการขนาดใหญ่ที่มีนักวิจัยผู้มีประสบการณ์เป็นหัวหน้าโครงการ • อาจเริ่มต้นด้วยการเป็นหัวหน้าโครงการวิจัยขนาดเล็กที่มีนักวิจัยผู้มีประสบการณ์เป็นที่ปรึกษา • ต่อมาเสนอโครงการขนาดใหญ่ที่มีนักวิจัยผู้มีประสบการณ์เป็นที่ปรึกษาหรือผู้ร่วมโครงการ • เสนอขอทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัย 2-3 ครั้ง ก่อนขอทุนจากแหล่งทุนภายนอก • พยายามสร้างความสัมพันธ์กับภาคอุตสาหกรรม/พยายามทำงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรม
การจัดการงานวิจัย • การเป็นนักวิจัยอิสระที่ประสบความสำเร็จต้องมีมากกว่าการมีสติปัญญาที่ดี • นักวิจัยอิสระที่ประสบความสำเร็จต้องมีความสามารถในการวางแผนและทำงานให้ประสบความสำเร็จ---การทำงานเป็นทีม (ศิลปะ) • มีความสามารถในการสั่งการและติดตามผลงาน • ปัจจัยเกื้อหนุน-ปัจจัยสนับสนุน • ความต้องการของคน
เผยแพร่ผลงานวิจัย • ทำไมต้องตีพิมพ์ผลงาน • งานวิจัยที่ดีแต่ไม่ได้รับการเผยแพร่ก็คือขยะ สิ้นเปลืองเวลาและเงินทุนของท่าน/ผู้ร่วมงานและผู้ให้ทุน • ผลงานตีพิมพ์แล้วใช้เป็นเอกสารอ้างอิงสำหรับงานวิจัยปัจจุบัน เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ • ผลงานตีพิมพ์เป็นสิ่งแสดงความสำเร็จของงานวิจัย • ผลงานวิจัยใช้สำหรับขอตำแหน่งวิชาการ • ผลงานวิจัยใช้เป็นเอกสารอ้างอิงสำหรับการประกอบวิชาชีพ
เผยแพร่ผลงานวิจัย • จะเริ่มต้นเผยแพร่ผลงาน ท่านต้องรู้จักการเขียนบทความ • แน่นอนว่า • ความคิดที่ดียอดเยี่ยมไม่สามารถตีพิมพ์ได้หากนำเสนอไม่ดี • ผลลัพธ์ที่ไม่ดีไม่สามารถตีพิมพ์ได้แม้ว่าจะเขียนบรรยายได้ดี • เริ่มส่งบทความเมื่อบทความนั้นมี “เนื้อหาที่น่าสนใจ” ซึ่งอาจประเมินโดย mentor หรือตัวผู้วิจัยเอง • ผลลัพธ์และการโต้ตอบ • ผลการประเมินจะให้ feedback ซึ่งอาจเป็นแง่บวกหรือลบ • ถ้าบทความได้รับการตอบรับ Congratulations และจงทำงานที่ต่อยอด • ถ้าบทความได้รับการปฏิเสธ ไม่ต้องเสียใจ พิจารณาผลการประเมิน ปรับปรุงและจัดส่งใหม่
สร้างเครือข่าย - เข้าสู่สังคมของการวิจัย • หมั่นพบปะพูดคุยกับนักวิจัยที่มีความสามารถและประสบการณ์สูง • ทำให้ตัวให้เป็นที่รู้จัก • ต้องเรียนรู้การสร้างเครือข่าย - สิ่งนี้เป็นทักษะที่เรียนรู้ได้ • กิจกรรมการเข้าสู่สังคมของการวิจัย: • เมื่อเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ: ควรทำกิจกรรม • นำเสนอบทความ • เข้าร่วมกิจกรรมการซักถาม (Discussions) • ถ้ามีคนสนใจในงานวิจัยของคุณ ติดตามและให้ข้อมูลเพิ่มเติม
สร้างเครือข่าย - เข้าสู่สังคมของการวิจัย • พยายามเริ่ม/สร้างกลุ่มวิจัยที่มีการทำงานร่วมกัน • เริ่มต้นจากโครงการเล็กและเขียนบทความร่วมกัน • ตามด้วยโครงการขนาดใหญ่ขึ้น • เชิญเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม • สำหรับความร่วมมือระดับนานาชาติ • อาจประสานงานด้วย e-mail • Research fellow
บทสรุป – การจะเป็นนักวิจัยอิสระที่ประสบความสำเร็จ • เป็นนักวิจัยที่ดี • มีแนวคิดที่ดีและทันสมัย สามารถใช้ในทางปฏิบัติ/ภาคอุตสาหกรรมได้ • หมั่นอ่านบทความวิชาการที่มีคุณภาพสูง • หมั่นปรึกษาหารือด้านวิชาการกับเพื่อนร่วมงาน/ผู้มีประสบการณ์ • พัฒนาตนเองอยู่เสมอ • ทำงานเป็นทีมได้