750 likes | 899 Views
มองเศรษฐกิจไทยทั้งในและต่างประเทศปี 2554. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน). ในงานเสวนา “ จับตาปี 2011 Sector ไหนรุ่ง กลุ่มไหนร่วง” ณ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ชั้น 6 วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม 2553. “ รุดหน้า... สู่อนาคต ”.
E N D
มองเศรษฐกิจไทยทั้งในและต่างประเทศปี 2554 บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) ในงานเสวนา “จับตาปี 2011 Sector ไหนรุ่ง กลุ่มไหนร่วง” ณ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ชั้น 6 วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม 2553 “รุดหน้า... สู่อนาคต”
มองเศรษฐกิจไทยทั้งในและต่างประเทศปี 2554 • เศรษฐกิจหลักของโลกในปี 2554 จะชะลอตัวลงจากปี 2553 • ค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าและผันผวน • อัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโน้มสูงขึ้น
I. เศรษฐกิจหลักของโลกในปี 2554 จะชะลอตัวลงจากปี 2553
IMF คาดว่าเศรษฐกิจหลักของโลกทั้ง 4 จะชะลอตัวลงในปี 2554 การคาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น และจีนโดย IMF %,y-o-y ที่มา: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง ปัจจัย 3 ประการที่ทำให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟื้นตัว • วัฏจักรขาขึ้นของสินค้าคงคลัง • อุปสงค์ที่เลื่อนออกมาจากช่วงเศรษฐกิจถดถอย (Pent-up Demand) • มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ตลาดบ้านยังทรุดตัว สถาบันการเงินยังมีปัญหา 5
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง(ต่อ): วัฏจักรขาขึ้นของสินค้าคงคลังชะลอลง ที่มาของการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ (การเปลี่ยนแปลงสินค้าคงคลัง) สต๊อกสินค้าภาคค้าปลีก ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ %, q-o-q: annual rate 6
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง(ต่อ) :Pent-up Demand หมดลง ยอดขายรถยนต์ของสหรัฐฯ พันคัน ที่มา: Bureau of Economic Analysis (BEA), USA. 7
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง(ต่อ): มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจะลดลงมากในปีหน้า ผลของการขาดดุลงบประมาณของสหรัฐฯ ปีงบประมาณ 2552 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา: Congressional Budget Office (CBO) 8
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง(ต่อ) : ตลาดบ้านยังทรุดตัว ยอดขายบ้านเดี่ยวมือสอง ยูนิต ยอดขายบ้านใหม่ ยูนิต 3,890,000 ดัชนีการทำสัญญาซื้อขายบ้านที่รอปิดการขาย (Pending Home Sale) ดัชนี 283,000 89.3 9
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง(ต่อ): สถาบันการเงินของสหรัฐฯ ยังมีปัญหา ยอดสินเชื่อพาณิชย์และอุตสาหกรรมคงค้างของธนาคารทั้งหมดของสหรัฐฯ จำนวนธนาคารขนาดกลางและขนาดเล็กที่ล้มละลาย แห่ง พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 531 149 34 พ.ย. 53 ที่มา: http://research.stlouisfed.org/fred2/series/BUSLOANS/downloaddata?cid=100 ที่มา: Federal Deposit Insurance Corporation (FDIC) 10
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง: ปัญหาการลดลงของราคา (Deflation) หนี้สาธารณะที่สูงและความอ่อนแอของการบริโภคทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นต้องพึ่งการส่งออก การส่งออก (USD) อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของญี่ปุ่น %, (y-o-y) %, (y-o-y) 19.1 *หมายเหตุ: FX = Yen against US$: Monthly Average Rates 0.2 -0.8 การบริโภคภาคเอกชน %, q-o-q: annual rate: SA ที่มา: http://www.esri.cao.go.jp
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง : ปัญหาการลดลงของราคา (Deflation) หนี้สาธารณะที่สูงและความอ่อนแอของการบริโภคทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นต้องพึ่งการส่งออก (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยนโยบาย สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ของญี่ปุ่น % % to GDP 0.0-0.1 *ประมาณการณ์ด้วยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ *Target for the Uncollateralized Overnight Call Rate
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง: ปัญหาการลดลงของราคา (Deflation) หนี้สาธารณะที่สูงและความอ่อนแอของการบริโภคทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นต้องพึ่งการส่งออก (ต่อ) … มีสัญญาณว่าเศรษฐกิจญี่ปุ่นจะชะลอตัวลงมากใน Q4 2553 ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น จัดทำโดย Nomura/JMMA Consumers’ Confidence Index (exclude 1 Person Households) Index 40.4 ที่มา: http://www.markiteconomics.com ที่มา: Economic and social Research Institute
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ):เงินเยนแข็งค่าขึ้นทั้งๆ ที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นชะลอตัวลงอย่างมากและอาจจะเข้าสู่ภาวะถดถอย อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่น %,q-o-q
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ): เงินเยนแข็งค่าขึ้น ทั้งๆที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นชะลอตัวลงอย่างมากและอาจจะเข้าสู่ภาวะถดถอย (ต่อ) ค่าเงินดอลลาร์เทียบกับเยน JPY:USD 83.90
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ):สาเหตุของการแข็งค่าของค่าเงินเยนเศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ):สาเหตุของการแข็งค่าของค่าเงินเยน • ประเทศญี่ปุ่นเกินดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่อง • ธนาคารกลางส่วนใหญ่ลดการถือเงิน USD และ ยูโร • ประเทศจีนหันไปถือตราสารหนี้รัฐบาลญี่ปุ่นและเกาหลีใต้มากขึ้น • รัฐบาลญี่ปุ่นไม่สามารถที่จะป้องกันการแข็งค่าขึ้นของเงินเยนได้
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ): ดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศญี่ปุ่น ดุลบัญชีเดินสะพัด ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา: http://www.stat-search.boj.or.jp/ssi/mtshtml/csv/m_en.csv หมายเหตุ: อัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ในการคำนวณเป็นอัตราเฉลี่ยใน Tokyo Market
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง(ต่อ): สัดส่วนการลงทุนในหลักทรัพย์สกุลเงินต่างๆ ของธนาคารกลางประเทศต่างๆ ทั่วโลก สัดส่วนการลงทุนในหลักทรัพย์สกุลเงินต่างๆ % ที่มา: Currency Composition of Official Foreign Exchange Reserves (COFER)http://www.imf.org/external/np/sta/cofer/eng/index.htm
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง: เศรษฐกิจหลักของยุโรปค่อนข้างเข้มแข็งแต่เศรษฐกิจขนาดเล็กหลายแห่งค่อนข้างอ่อนแอ GDP ของประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ GDP ของกรีซ โปรตุเกส สเปน และไอร์แลนด์ % ,(q-o-q) % ,(q-o-q) หมายเหตุ: f=ประมาณการโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) หมายเหตุ: f=ประมาณการโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): หลังวิกฤติการเงินปี 2551/52 หนี้สาธารณะของหลายประเทศในยุโรปสูงขึ้นมาก สัดส่วนหนี้ภาครัฐต่อGDP ของประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ สัดส่วนหนี้ภาครัฐต่อGDP ของประเทศไอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน อิตาลี และกรีซ % toGDP ที่มา: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ที่มา: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ปัญหาหนี้สาธารณะของกรีซรุนแรงขึ้นจากวิกฤติการเงินในปี 2551/52 หนี้ภาครัฐ (Public debt) ต่อ GDP ของกรีซ % of GDP ที่มา: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ประเทศกรีซแต่งบัญชีดุลงบประมาณปี 2541 เพื่อให้ได้เป็นสมาชิก Euro Zone ในปี 2543 การประเมินการขาดดุลงบประมาณต่อ GDP ของกรีซในปี 2541 • การทำ Currency Swap เพื่อให้หนี้ลดลง • การลงบัญชีรายจ่ายต่ำกว่าความจริงโดยเฉพาะการไม่บันทึกการใช้จ่ายด้านการทหาร 16,000 ล้านยูโร • ลงบัญชีรายได้สูงกว่าความเป็นจริง • Transparency International ปรับลดอันดับความโปร่งใสของกรีซจากอันดับ 51 ในปี 2551 มาอยู่อันดับที่ 71 ในปี 2552 %to GDP
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ประเทศกรีซขาดดุลงบประมาณและดุลบัญชีเดินสะพัดจำนวนมากพร้อมกันทำให้ต้องพึ่งเงินทุนจากต่างประเทศจำนวนมาก ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP ปี 2552 และดุลงบประมาณต่อ GDP ปีงบประมาณ 2552 ของกรีซ %
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ปัญหาหนี้ของกรีซลุกลามไปประเทศอื่นได้ 3 ทางคือ มีอีก 4 ประเทศที่มีลักษณะคล้ายกับกรีซคือหนี้ภาครัฐสูงและกำลังเพิ่มขึ้น ขาดดุลงบประมาณค่อนข้างสูง และขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ประเทศเหล่านี้ได้แก่ ไอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน และอิตาลี (รวมกับกรีซเป็น 5 ประเทศเรียกว่ากลุ่ม PIIGS) ทั้ง 5 ประเทศมีการกู้ยืมเงินระหว่างกันสูงมาก นอกจากนี้รัฐบาลและสถาบันการเงินของกลุ่ม PIIGS ได้กู้เงินจากประเทศในสหภาพยุโรป โดยเฉพาะเยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษ ราคาพันธบัตรรัฐบาลของ PIIGS ลดลงทำให้สถาบันการเงินอาจจะต้องปรับลดมูลค่า (Mark-to-Market) ทำให้ทุนลดลงจนกลายเป็นวิกฤติ 24
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ):ทั้ง 5 ประเทศมีการกู้ยืมเงินระหว่างกันสูงมาก และยังกู้เงินจากรัฐบาลยุโรป โดยเฉพาะจากเยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษ ที่มา: นิวยอร์กไทมส์ 25
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ปัญหาอาจจะลุกลามไปยังประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศสและอังกฤษ หนี้ต่างประเทศของรัฐบาลและสถาบันการเงินของกลุ่ม PIIGS ล้านล้าน USD ที่มา: นิวยอร์กไทมส์ 26
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): จากโอกาสที่ปัญหาจะลุกลามและการช่วยเหลือจากรัฐบาลสหภาพยุโรปไม่เพียงพอ IMF และ ECB จึงเพิ่มการช่วยเหลือ รัฐมนตรีคลังของสหภาพยุโรปสัญญาว่าจะจัดหาเงินกู้ให้ประเทศที่มีปัญหา 750,000 ล้านดอลลาร์ยูโร (จากที่มีอยู่แล้ว 76,000 ล้านดอลลาร์ยูโร) IMF ก็จะจัดหาเงินกู้ให้ประเทศที่มีปัญหา 321,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขณะที่ ECB ก็ประกาศจะเข้าซื้อตราสารหนี้ของรัฐบาลของประเทศที่มีปัญหาเพื่อป้องกันการลดลงของราคาพันธบัตรและปล่อยกู้ให้กับรัฐบาลของประเทศกลุ่ม PIIGS ที่กู้เงินไม่ได้อีกทางหนึ่ง 27
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): การให้ความช่วยเหลือเป็นการโอนความเสี่ยงจากสถาบันการเงินและนักลงทุนไปยังรัฐบาล ECB และ IMF สถาบันการเงินและนักลงทุนถือ พันธบัตรรัฐบาล PIIGS (พันธบัตร) ขายพันธบัตร รัฐบาล PIIGS ขายพันธบัตร ขายพันธบัตร รัฐบาลประเทศสหภาพยุโรปอื่น ECB และ IMF (พันธบัตร) 28
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ):มีความเป็นไปได้สูงที่ประเทศกรีซจะประกาศพักชำระหนี้ • ประเทศกรีซใช้เงินยูโรจึงไม่สามารถที่จะลดค่าเงินเพื่อกระตุ้นการส่งออกและการท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังไม่สามารถที่จะใช้นโยบายการเงินที่จะสร้างเงินเฟ้อเพื่อลดภาระหนี้ภาครัฐที่แท้จริง (หนี้ภาครัฐหักด้วยเงินเฟ้อ) ได้ • เนื่องจากเศรษฐกิจที่ถดถอยและอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นทำให้วารสาร The Economist คาดว่าหนี้สาธารณะของกรีซจะสูงถึงร้อยละ 150 ของ GDP ในปี 2557 สูงกว่าที่ IMF เคยคาดไว้ที่ร้อยละ 121 • OECD คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจของกรีซจะหดตัวประมาณร้อยละ 3.7 ในปี 2553 และร้อยละ 2.5 ในปี 2554 • ประเทศกรีซมี 2 ทางเลือก คือ ปรับลดการขาดดุลโดยการลดการใช้จ่ายและเพิ่มภาษี (ซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจหดตัวและซบเซาอย่างต่อเนื่องหลายปี) กับการประกาศพักชำระหนี้และขอเจรจาลดหนี้ (ซึ่งมีโอกาสที่เศรษฐกิจกรีซมีโอกาสฟื้นตัวใน 1 – 2 ปีในอนาคตเช่นเดียวกับประเทศอาร์เจนตินา)
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ประเทศไอร์แลนด์ไม่เหมือนประเทศยุโรปอื่นๆ ที่มีหนี้สาธารณะสูงมากก่อนวิกฤติการเงินปี 2551/2 แต่มีหนี้ต่ำเมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจ สัดส่วนหนี้สาธารณะของไอร์แลนด์ • ไอร์แลนด์มีวินัยการคลังสูงและมีหนี้สาธารณะต่ำก่อนเกิดวิกฤติ • แม้กระทั่งในปี 2552 รัฐบาลไอร์แลนด์ก็สามารถที่จะลดการขาดดุลให้ต่ำกว่างบประมาณที่ตั้งไว้ที่ 25,300 ล้านยูโรโดยขาดดุลจริง 24,600 ล้านยูโร หลังจากการใช้เงินยูโรไอร์แลนด์ขยายธุรกิจธนาคารในยุโรปจนสินทรัพย์ของธนาคารพาณิชย์มากกว่า GDP หลายเท่าตัว • เมื่อเกิดวิกฤติธนาคารไอร์แลนด์ รัฐบาลไอร์แลนด์ต้องเข้ารับภาระทำให้ภาระการคลังสูงขึ้น % toGDP ที่มา: IMF หมายเหตุ: * ประมาณการโดย IMF ** ประมาณการโดย The Economist
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ):ต้นทุนในการแก้ปัญหาธนาคารพาณิชย์บานปลาย • ธนาคาร Anglo Irish Bank ที่เป็นของรัฐบาลประกาศขาดทุนในครึ่งแรกของปี 2553 สูงถึงประมาณ 10,800 ล้านUSD ซึ่งเป็นผลการขาดทุนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของไอร์แลนด์ การแก้ไขปัญหาธนาคารนี้แห่งเดียวก็อาจจะมีต้นทุนสูงถึง 25,000 ล้านยูโร หรือประมาณ 33,000 ล้านดอลลาร์ • สถาบันจัดอันดับ Standard & Poor’s ประเมินว่าต้นทุนขององค์กรที่รัฐบาลจัดตั้งเพื่อแก้ไขหนี้เสียของธนาคารพาณิชย์ (Bad Banks) จะมีมูลค่าประมาณ 40,000 - 41,000 ล้านยูโร ซึ่งจะทำให้หนี้สาธารณะต่อ GDP ของไอร์แลนด์ เพิ่มขึ้นอีกประมาณร้อยละ 26 ในปี 2553 ส่งผลให้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ของไอร์แลนด์เพิ่มขึ้นสูงสุดเป็นถึงประมาณร้อยละ 121.4 ของ GDP ในปี 2558
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): การแก้ปัญหาผลักดันให้การขาดดุลพุ่งขึ้นและหนี้สาธารณะสูงกว่าที่ IMF คาดไว้ • การเข้าแก้ไขปัญหาธนาคารทำให้รัฐบาลไอร์แลนด์ขาดดุลงบประมาณในปี 2553 สูงถึงร้อยละ 32 ของ GDP (เมื่อรวมภาระการแก้ไขสถาบันการเงิน) และทำให้หนี้สาธารณะพุ่งขึ้นเป็นร้อยละ 47 ของ GDP • จากภาระ IMF คาดว่าหนี้สาธารณะของไอร์แลนด์จะพุ่งสูงสุดถึงประมาณร้อยละ 83 ของ GDP ในปี 2557 แล้วจึงจะลดลงหลังจากนั้น
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ไอร์แลนด์รับความช่วยเหลือจากสหภาพยุโรปและ IMF • ไอร์แลนด์ตอบรับที่จะรับความช่วยเหลือจากสหภาพยุโรปและ IMF • คาดว่าการช่วยเหลือและเงื่อนไขประกอบด้วย • วงเงินประมาณ 85,000 ล้านยูโร • ส่วนหนึ่งของการช่วยเหลือจะรวมถึง “Standby Facility” ที่จะช่วยเหลือสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ • ไอร์แลนด์ต้องปรับโครงสร้างธนาคารทั้งระบบ • ไอร์แลนด์ต้องมีแผนปรับลดการขาดดุลงบประมาณที่ชัดเจนและลดการขาดดุลงบประมาณให้เหลืออย่างน้อย 3% ต่อ GDP ในปี 2557 (ไอร์แลนด์กำลังเจรจาที่จะคงอัตราภาษีนิติบุคลไว้ที่ 12.5%)
ไอร์แลนด์มีมาตรการเข้มข้นที่จะลดการขาดดุลไอร์แลนด์มีมาตรการเข้มข้นที่จะลดการขาดดุล • มีเป้าหมายลดการใช้จ่าย 10,000 ล้านยูโรและเพิ่มรายได้ประมาณ 5,000 ล้านยูโร รวมเป็น 15,000 ล้านยูโร และตั้งเป้าลดการขาดดุลงบประมาณ 2554 ไว้ที่ 6,000 ล้านยูโรหรือประมาณ 9% ของ GDP • การปรับลดงบประมาณรายจ่ายจะรวมถึง • การลดการจ้างงานภาครัฐ 20,000 ราย • เพิ่ม VAT อีกร้อยละ 1 • เพิ่มภาษีอสังหาริมทรัพย์ (คาดว่าจะเพิ่มรายได้ประมาณ 500 ล้านยูโรใน 4 ปี) • ลดระยะเวลาลดหย่อนภาษีสำหรับเงินบำเหน็จบำนาญและขยายขอบเขตการจัดเก็บภาษีรายได้บุคคลธรรมดา • อื่นๆ เช่นลดการใช้จ่ายเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม และลดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำจาก 8.65 ยูโรต่อชั่วโมงเหลือ 7.65 ยูโรต่อชั่วโมง • ปัญหาใหญ่คือการขาดเสถียรภาพทางการเมืองเพราะพรรครัฐบาลมีเสียงไม่ถึงครึ่งต้องพึ่งเสียงจากพรรคอิสระ ล่าสุดรัฐบาลประกาศว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในครึ่งหลังของเดือนมกราคมปีหน้า
AAA AAA AA AA AA - AA - A+ A+ A A A- A- BBB+ BBB+ BBB BBB BBB- BBB- BB+ BB+ BB BB BB- BB- B B CCC CCC CC CC C C D D เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): อันดับความน่าเชื่อถือของไอร์แลนด์ลดลง อันดับความน่าเชื่อถือของไอร์แลนด์โดย S&P อันดับความน่าเชื่อถือของกรีซโดย S&P rating rating AA AA- AA- A BBB+ BB+ 27 เมษายน 2553 16 ธันวาคม 2552 2551 25 สิงหาคม 2553 24พฤศจิกายน 2553 2552
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): แม้ว่าสหภาพยุโรปและ IMF จะช่วยเหลือทั้งกรีซและไอร์แลนด์ก็ยังไม่สามารถสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุนได้ อัตราแลกเปลี่ยน (ยูโร : ดอลลาร์สหรัฐฯ) CDS เยอรมนี ไอร์แลนด์ และกรีซ ชนิด 5 ปี USD: 1 EUR bps. 1.3371 ที่มา: bloomberg ที่มา: http://research.stlouisfed.org andBiznews
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): วิกฤติลามไปประเทศโปรตุเกส CDS และอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 ปี ของโปรตุเกส bps. % ที่มา: bloomberg
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): วิกฤติลามไปประเทศโปรตุเกส(ต่อ)….โปรตุเกสขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในอัตราที่สูงมาก ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP ของโปรตุเกส % toGDP ที่มา: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ธนาคารยุโรปมีทุนต่ำเทียบกับสหรัฐฯทำให้ไม่สามารถที่จะรองรับความเสียหายได้มาก Leverage Rate (Asset/Equity: total equity-goodwill) เท่า พันล้าน USD ธนาคารยุโรป ธนาคารสหรัฐฯ ที่มา://www.oecd.org/document/57/0,3343,en_2649_34593_45263993_1_1_1_1,00.html
billions* Germany’s exposure to: สเปน โปรตุเกสl กรีซ France’s exposure to: สเปน โปรตุเกสl กรีซ U.K.’s exposure to: สเปน โปรตุเกสl กรีซ *ณ สิ้นปี 2552 ที่มา: BIS, WSJ เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): ถ้าสเปนไม่พักชำระหนี้ ปัญหาจะไม่ลุกลามกลายเป็นวิกฤติ การกู้ยืมระหว่างธนาคารในกลุ่มประเทศหลักกับกรีซ สเปน และโปรตุเกส ความเป็นไปได้ที่หนี้สาธารณะของประเทศในกลุ่ม PIIGS จะเกิด default % n.a. n.a. ที่มา: Bloomberg Global Poll, November 2010
เศรษฐกิจยุโรปมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง (ต่อ): มีสัญญาณว่าเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่สูงสุดแล้ว ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคของยุโรป PMI ของยูโรโซน ที่มา: Economic and Financial Affairs
เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลง: มีสัญญาณว่าเศรษฐกิจจีนชะลอตัวลงเล็กน้อย PMI-ภาคอุตสาหกรรมของจีน การลงทุนใน Fixed Asset %,y-o-y
เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลง(ต่อ): จุดสูงสุดของฟองสบู่จีนอาจจะอยู่ไม่ไกลจากปัจจุบัน ดัชนีราคาที่ดินของจีน (ประเภทที่พักอาศัย) อัตราส่วนของราคาบ้านต่อรายได้ต่อปี (Ratio of housing price to annual income) ดัชนี Times หมายเหตุ: The highest in the US ที่มา: CEIC Data and National Bureau of Statistic of China
เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลง(ต่อ): เงินเฟ้อของประเทศจีนถูกกดดันให้สูงขึ้น มาตรการชะลอเงินเฟ้อจะทำให้เศรษฐกิจชะลอตัวลง • ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกในรอบ 3 ปี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 53 โดยปรับเพิ่ม 0.25% ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพิ่มเป็น 5.56% ส่วนอัตราเงินฝากเพิ่มเป็น 2.5% • ปรับขึ้น Required Reserve Rate อีก 0.50% สู่ระดับ 18.5% มีผลตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 53 โดยเป็นการปรับเพิ่มเป็นครั้งที่ 3 ในรอบ 1 เดือน อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจีนและอัตราดอกเบี้ยนโยบาย สรุปมาตรการรัฐบาลและธนาคารกลางในการควบคุมอัตราเงินเฟ้อและฟองสบู่ของจีน %,y-o-y 5.1 44
เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลง(ต่อ): IMF คาดว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลงในปี 2554 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน %,y-o-y * * * ประมาณการโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
II. ค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าและผันผวน
ประเทศไทยเกินดุลบัญชีเดินสะพัดหลังวิกฤติการเงิน ขณะที่หนี้ต่างประเทศน้อยลง ทำให้ไม่ต้องนำเงินที่เกินดุลมาใช้หนี้ตั้งแต่ปี 2547 ดุลบัญชีเดินสะพัด หนี้ต่างประเทศ ล้าน USD ล้าน USD Q2/2553 ที่มา: ธปท. ที่มา: ธปท. ดุลบัญชีทุน เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ล้าน USD ล้าน USD ที่มา: UNCTAD ที่มา: ธปท. 47
ค่าเงินบาทเทียบกับ USD มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นตั้งแต่ปี 2544 ขณะที่ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องใช้เงินมูลค่ามหาศาลในการแทรกแซงค่าเงิน มูลค่าการแทรกแซงของธนาคารแห่งประเทศไทยในตลาดเงิน ค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ และดัชนีดอลลาร์สหรัฐฯ THB:USD Index 3.25 ล้านล้านบาท ที่มา:ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: St.Louis Federal 48
ล้าน US$ เงินสำรองระหว่างประเทศของเอเชียและตะวันออกกลางเพิ่มขึ้นอย่างมากใน 5 ปีที่ผ่านมา เงินสำรองระหว่างประเทศของ ASEAN+6 จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ฮ่องกง จีนไทเป และตะวันออกกลาง ที่มา: http://www.imf.org/external/np/sta/ir/8802.pdf http://www.imf.org/external/pubs/ft/reo/reorepts.aspx http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2009/02/weodata/weoselagr.aspx 49
ปัญหาเริ่มจากการที่ประเทศเอเชียตะวันออกกดค่าเงินให้ต่ำและสหรัฐฯ ออมน้อยทำให้สหรัฐฯ ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมูลค่ามหาศาล ดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐฯ Mil.USD ที่มา: Bureau of Economic Analysis , US Department of Commerce 50