770 likes | 2.68k Views
Respiratory Care. Anakapong Phunmanee M.D. Associated Professor Chief of PCT Respiratory Care Division of Pulmonology, Faculty of Medicine Khon Kaen University. Respiratory Care…..Breath…a Life.
E N D
Respiratory Care Anakapong Phunmanee M.D. Associated Professor Chief of PCT Respiratory Care Division of Pulmonology, Faculty of Medicine Khon Kaen University
Respiratory Care…..Breath…a Life “ You can live without food for a week, without water for a day, but you cannot live without air for more than a few minute.”
Topic • CPG: Oxygen therapy • CPG: endotracheal tube care • Care map: BIRD’ s respirator • Care map: Volume respirator • CPG: Patient-Ventilator system checks • CPG: Nebulizing therapy • CPG: Weaning • CPG: Extubation
CPG: Oxygen Therapy(1) • Indication 1. ภาวะที่ร่างกายมีภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ • PaO2 < 60 mmHg หรือ oxygen saturation < 90% • Cardiac arrest หรือ respirator arrest • มีอาการหรืออาการแสดงของ arterial hypoxemia เช่น tachypnea, tachycardia, agitation, confusion, cyanosis • ภาวะที่ต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก oxygen delivery ลดลง เช่น anemia, shock, acute myocardial infarction 2. ช่วยเพิ่มการดูดซึมอากาศออกจากช่องโพรงของร่างกาย • pneumothorax
CPG: Oxygen Therapy(2) • ควรประเมินหลังการให้ 20-30 นาที • ประเมินอะไรบ้าง • ระดับความรู้สึกตัว อัตราการหายใจ ชีพจร ความดันโลหิต • วัด oxygen saturation ด้วย pulse oxymetry • ตรวจ ABG 30 นาที หลังการปรับเปลี่ยนการรักษาหรือผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกแย่ลง
CPG: Oxygen Therapy(3) ความเข้มข้นของ oxygen ที่เริ่มต้นขึ้นกับลักษณะผู้ป่วย • Chronic hypoxemia ใช้ FiO2 0.24-0.32 • Cardiac หรือ respiratory arrest ใช้ FiO2 0.6-1.0 • Hypoxemia ทั่วไปใช้ FiO2 0.4-0.6 • (ในกรณีที่สงสัยภาวะ ARDS คือเมื่อให้ FiO2> 0.6 แล้ว oxygen saturation < 90% และพยาธิสภาพปอดเป็น diffuse lung พิจารณาใส่ ET-tube และใช้ PEEP)
CPG: Oxygen Therapy(4) FiO2 1L/4%
CPG: Oxygen Therapy(5) • Complication • เยื่อบุจมูกแห้ง:oxygen nasal canula > 5 L/min ควรต้องผ่าน humidifier • CO2 narcosis: chronic hypoxemia ควรต้องระมัดระวังการให้ออกซิเจนมากเกิน เนื่องจากผู้ป่วยอาจหยุดหายใจและเกิด CO2 narcosis ปกติในกรณีดังกล่าวแนะนำให้เป็น nasal oxygen cannula 1-3 L/min หรือ venturi mark ซึ่งสามารถปรับ FiO2 ได้ 0.24-0.40 • Oxygen toxicity:ควรลด FiO2 เมื่อผู้ป่วยดีขึ้นและไม่ควรใช้ FiO2 เกิน 0.6 เป็นเวลานาน โดยไม่มีความจำเป็น
Case Scenario Oxygen Therapy • Thai Female 70 ปี • Bronchiectasis with pneumonia
CPG: endotracheal tube care(1) • Indication • Respiratory failure need invasive mechanical ventilation • Maintain airway • Aspiration prevention eq. unconscious, impair gag • Type • Orotracheal • Nasotracheal
CPG: endotracheal tube care(2) • ชนิดของ ET tube • Standard: low pressure, high volume • ชาย 8-9 mm ความยาวถึงฟันหน้า 21-23 cm • หญิง 7-8 mm ความยาวถึงฟันหน้า 19-21 cm • Double lumenใช้ในกรณี unilateral lung isolation
CPG: endotracheal tube care(3) • การเตรียมพร้อม • ทีมงาน 3 คน • เครื่องมือสถานที่ • แสงสว่างเพียงพอ • Oropharyngeal airways • Suction พร้อมอุปกรณ์ • Ambu bag และ mask • Oxygen • Laryngoscope ที่ใช้งานได้ 2 อัน • Magil forceps • Guide wire • ET tube 2 อันในขนาดปกติและขนาดเล็กลงกว่าที่ใช้ 1 เบอร์ ซึ่งตรวจสอบ cuff แล้ว • อุปกรณ์ช่วย monitoring • Pulse oximetry • EKG
CPG: endotracheal tube care(4) • กระบวนการใส่ • Pre-oxygenate 100% นาน 3-4 นาที • ให้ fluid 250-500 ซีซี หากไม่มีข้อห้าม • ให้ยา induction (suxamethonium) • กด cricoid pressure เบา ๆ • ใส่ laryngoscope จนมองเห็น vocal cord แล้วใส่ท่อ • Inflating cuff • ฟังเสียง breath sound • ตรวจสอบระยะความยาวของท่อให้เหมาะสม • ต่อท่อช่วยหายใจกับเครื่องช่วยหายใจ • ให้ sedation และ muscle relaxant ที่เหมาะสม • ใส่ NG tube • ถ่าย chest x-ray • เจาะ blood gas และปรับประเมินผล
CPG: endotracheal tube care(5) • การให้ยา sedation หลังใส่ ET tube • ไม่จำเป็นหากผู้ป่วย Coma หรือ hemodynamic ไม่คงที่ • ยาที่ใช้ ได้แก่ Morphine, midazolam, propofol, fentanyl, diazepam ขึ้นกับข้อบ่งชี้ของผู้ป่วยในแต่ละราย • การดูแล ET tube • การพันเทปรอบคอผู้ป่วยไม่ควรให้แน่นจนเกินไปจนอุด Venous return (สามารถสอดนิ้วลอดได้ 2 นิ้ว) • การตรวจสอบ Cuff ของ ET tube
CPG: Patient-Ventilator system checks(1) • วัตถุประสงค์ • ตรวจสอบว่าผู้ป่วยและเครื่องช่วยหายใจทำงานสัมพันธ์กับตามที่ตั้งไว้หรือไม่ • เพื่อตรวจสอบว่าเครื่องช่วยหายใจทำงานอยู่อย่างปกติ ในทุกระบบได้แก่ ระบบการไหลของอากาศ ระบบความชื้น อุณหภูมิของอากาศในเครื่องช่วยหายใจ ความเข้มข้นของออกซิเจน (FiO2)
CPG: Patient-Ventilator system checks(2) กระบวนการตรวจสอบ 1. ชื่อ HN Diagnosis 2. Tube tracheostomy 3. วันเวลาสุดท้ายที่มีการปรับเครื่อง 4. Current ventilator setting 5. Alarm setting 6. Order check 7. Patient-ventilator checks
CPG: Patient-Ventilator system checks(3) Current ventilator setting 1. FiO2, Humidifier, temperature 2. Mode 3. Frequency 4. PIP 5. Tidal volume: set, delivery 6. Sign 7. Minute ventilation 8. Flow rate 9. Waveform 10. I:E, inspiratory time 11. Trigger sensitivity
CPG: Patient-Ventilator system checks(4) ตัวอย่างการตรวจสอบ 1. Breath sound 2. Spontaneous RR, Volume, Pattern 3. Chest motion 4. Pallor, skin color 5. consciousness 6. ET tube: cuff pressure, position 7. Secretion 8. Instrument: ICD 9. Lung mechanic: PIP, Ppla, NIP, RSBI 10. Oxygenation: non-invasive, ABG 11. Patient-ventilatory synchrony
CPG: Patient-Ventilator system checks(4) ตรวจเมื่อไร แค่ไหน 1. ทำทุกเวร 2. ก่อนเจาะ arterial blood gas 3. ก่อนวัด hemodynamic หรือ pulmonary data 4. หลังจากปรับเปลี่ยน ventilator setting 5. มีการเปลี่ยนแปลงทางคลินิก 6. สงสัยว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นกับเครื่องช่วยหายใจ
ตารางบันทึกการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจตารางบันทึกการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
CPG: Weaning (1) • หลักเกณฑ์การพิจารณาก่อนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ • หมดข้อบ่งชี้ที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ • อาการทางคลินิกหรือภาพรังสีทรวงอกดีขึ้น • สภาวะทาง hemodynamic คงที่ • ไม่มีความผิดปกติทางกรดด่าง รวมทั้งระดับ Mg, PO4, K • ไม่มีความเจ็บปวด • ไม่มี active GI bleeding, hyper/hypothyroid • สภาวะทางโภชนาการคงที่
CPG: Weaning (2) • วิธีการ • T-piece • Synchronous mandatory ventilation (SIMV) • Continuous Positive Airway Pressure (CPAP) • Pressure support
CPAP pressure time
Pressure support breath Flow excess pressure actively exhale 20 15 10 5 Time
CPG: Weaning (2) • ดัชนีบ่งชี้ความสำเร็จ(ดูประกอบกับอาการทางคลินิก) • Mechanical measurement • RR < 30 /min, > 8 /min • Vt > 5ml/kg • Rapid shallow breathing index (f/Vt) < 100 /min/L • NIP < -30 cmH2O • Oxygenation indices • PaO2/FiO2 > 200 • P(A-a)O2 <350 mmHg • Ventilation indices • PCO2 < 60 mmHg • MV < 10 L/min • MVV > 2x MV • VC > 10 cc/kg
Weaning Protocol SBT trial โดย T-piece 5 LPM* CPAP 5 cm PS 5-7 cm FiO2 เดิม Daily check V/S stable Sat >90% FiO2<0.5 PEEP< 5, PaO2/FiO2>200 RR/Vt <100 Hct >30% Suction < 2/ Hr. pass x ยืนเฝ้า RR <3o/min V/S change <20% O2 sat >90% No distress RR >35/min V/S change >20% O2 sat <90% distress On T-piece 3-8 LPM Current FiO2 พิจารณา extubation ถ้า stable 2-4 ชม. Add PS 15-20 till stable กลับไปตรวจสอบ แก้ไข พัก 4-6 ชม. Try ลด PS 2-5 cm ทุก 1-3 ชม ไม่ wean ต่อหลัง 16.30 น. Cuff leak test pass Extubation On canula 2-6 LPM Keep sat >90% PS 5 cmH2O >2 Hr
Difficult Weaning WHEANS NOT • W Wheeze • H Heart disease • E Electrolyte • A Anxiety, airway abnormal, aspiration, alkalosis • N Neuromuscular • S Sepsis, sedation • N Nutrition both under and over • O Obesity, opiate • T Thyroid diseases
CPG: extubation(1) • หลักการทั่วไป • เตรียมพร้อมใส่ท่อช่วยหายใจหากเกิดปัญหา • ควรถอดท่อช่วยหายใจในเวลากลางวัน • เกณฑ์พิจารณา • ความรู้สึกตัวดี สามารถไอขับเสมหะได้ • ไม่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ 2 ชม. หรือ SIMV < 4/min 24 ชม. • สมรถภาพปอดอยู่ในเกณฑ์ยอมรับ • RR < 30/min • VC >15 ml/kg • PaO2/FiO2 > 200 • Pass cuff leak test
Extubation Pathway Extubation ประเมิน Conscious/ Secretion RR <30 VC >15 ml/kg PaO2/FiO2 >200 Pass cuff leak test ยืนเฝ้า pass RR, Accessory muscle Sign UAO, V/S RR <30/min V/S change <20% O2 sat >90% No distress RR >35/min V/S change >20% O2 sat <90% distress On T-piece 3-8 LPM Current FiO2 Try non invasive Ventilation (BIPAP, CPAP) ไม่ดีขึ้นใน 20-30 นาที พิจารณา Re-intubation
CPG: extubation(2) • การดูแลหลังถอดท่อช่วยหายใจ • ผู้ป่วยทุกรายต้องได้รับออกซิเจน • ผู้ป่วยที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ • ผู้ป่วยที่ gag reflex ไม่ดี • ผู้ที่ไอไม่มีประสิทธิภาพ • ไม่สามารถเพิ่ม MV มากขึ้นเป็นสองเท่าของเดิม • V/S และ respiratory parameter ไม่กลับสู่ปกติภายใน 1 ชม.