841 likes | 1.47k Views
EQ และ AQ การเสริมสร้างและพัฒนาประสิทธิภาพ และความสำเร็จในการทำงาน. ผศ. ธี ระศักดิ์ กำบรรณารักษ์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะ ศิลป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ E mail : k.thirasak@gmail.com. วัตถุประสงค์ในการเรียน EQ. รับทราบถึง 6Qs ที่นำไปสู่ความสุขและความสำเร็จของชีวิต
E N D
EQและ AQ การเสริมสร้างและพัฒนาประสิทธิภาพ และความสำเร็จในการทำงาน ผศ. ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Email: k.thirasak@gmail.com
วัตถุประสงค์ในการเรียน EQ • รับทราบถึง 6Qs ที่นำไปสู่ความสุขและความสำเร็จของชีวิต • รับทราบถึงความสำคัญของ IQ และ EQ ที่มีต่อความสำเร็จของการทำงาน • ลักษณะงานที่ต้องการ IQ และลักษณะงานที่ต้องการ EQ • เรียนรู้ความหมายของ EQ และองค์ประกอบที่สำคัญของ EQ (ทดสอบระดับ EQ และเรียนรู้วิธีพัฒนาในแต่ละองค์ประกอบ) • 4.1 Self Awareness (การตระหนักรู้ในตนเอง) • 4.2 Emotional Regulation (การจัดระเบียบอารมณ์) • 4.3 Self Motivation (การจูงใจตนเอง) • 4.4 Empathy (การร่วมรับรู้ความรู้สึก) • 4.5 Social Skill (ทักษะทางสังคม)
6Qsที่นำไปสู่สำเร็จและความสุขของชีวิต6Qsที่นำไปสู่สำเร็จและความสุขของชีวิต 1. IQ (Intelligence Quotient) 2. EQ(Emotional Quotient) 3. AQ (Adversity Quotient) 4. MQ (Moral Quotient) 5. HQ (Health Quotient) 6. SQ (Spiritual Quotient) 6Qs
= ความเก่ง • = ความสุข • = ความสำเร็จ • = ความดี • = ความแข็งแรง • = อัจฉริยภาพสูงสุด IQ EQ AQ MQ HQ SQ
IQ HQ EQ SQ AQ MQ
ความหมายและองค์ประกอบของEQความหมายและองค์ประกอบของEQ EQ (Emotional Quotient)หมายถึง ความสามารถในการตระหนักรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อื่น บริหารอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น สามารถจูงใจตนเองและผู้อื่นได้ มีความเห็นใจและเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น ตลอดจนสื่อสารสร้างมิตรกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
IQ 20 % EQ 80 % องค์ประกอบของความสำเร็จ ตอนรับเข้าทำงานดู IQ ตอนให้ออกจากงานเพราะขาด EQ
บทบาทของ IQ และ EQ ต่อกิจกรรมต่างๆ ของชีวิต ความสำเร็จในด้านต่างๆปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญ แก้ปัญหาเฉพาะทาง IQ การทำงาน IQ+EQ การปรับตัว EQ การครองตน EQ การครองคน EQ ชีวิตคู่ EQ คนที่อัจฉริยะควรแต่งงานกับคนที่มีคุณธรรม คนที่อัจฉริยะไม่ควรจะอยู่ด้วยกัน A man of genius should marry a person of character.Genius does not herd with genius. (Oliver Wendell Hoimes)
องค์ประกอบของ EQ 1. การตระหนักรู้ในตนเอง (Self Awareness) 2. การจัดระเบียบอารมณ์ (Emotional Regulation) 3. การจูงใจตนเอง (Self Motivation) 4. การร่วมรับรู้ความรู้สึก (Empathy) 5. ทักษะทางสังคม (Social Skill) Daniel Goleman
1. การเข้าใจตนเองหรือตระหนักรู้ในตนเอง (Self Awareness) การวิเคราะห์ตนเอง (Self Analysis) ถ้าหากเกิดเป็นดอกไม้ อยากเป็นดอกอะไร เพราะอะไร ถ้าต้องเกิดเป็นสัตว์ ต้องการเป็นสัตว์อะไร เพราะอะไร ถ้าหากมีแก้วสารพัดนึก อยากได้อะไร 3 ข้อ เมื่อตายไปแล้ว อยากให้คนอื่น พูดถึงเราอย่างไร
การวิเคราะห์ตนเอง ข้อ 1. ข้อ 2. ตรวจสอบความเป็นตัวตน (Self) ข้อ 3. ดูความ ขาดแคลนและความไม่พอในชีวิต (Scarcity State) ข้อ 4. เป้าหมายสูงสุดในชีวิต (Ultimate Goal of Life)
วงจร EQ จิตปีติ Pituitary gland ทำความดี Endorphin ร่างกายแข็งแรง Immunity System T-Lymphocyte (T-cell) Endocrine
“ Knowing others is wise (clever), knowing yourself is genius ” “ การรู้จักตัวเองนำไปสู่การเข้าใจและรู้จักคนอื่นอย่างลึกซึ้ง ”
2. การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง (Emotion regulation) • เข้าใจและยอมรับอารมณ์ของตนเอง (Understand and accept your own emotional validation) • ไวต่ออารมณ์และการแสดงอารมณ์ของคนอื่น (Sensitive to people emotions) • ขอให้แสดงอารมณ์ตามที่กำหนดให้ (Demonstrate emotions as assigned as follows) - อารมณ์โกรธ (Anger) - อารมณ์เสียใจ – เศร้า (Sad, Sorrow) - อารมณ์ดีใจ (Happiness, Gladness) - อารมณ์สุข สงบ (Relax)
2. การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง (Emotion regulation) (ต่อ) • ศึกษาจราจรอารมณ์ (Follow your emotional traffic) • RET Theory • หลักการควบคุมอารมณ์ 4 ข้อ (4 ways of emotional control) 1. Individual Difference 2. Don’t do many things at one time 3. Plan your work and work your plan 4. I am OK you are OK
ตำแหน่งชีวิต(Life Position) I am OK you are OK I am OK you are not OK I am not OK you are OK I am not OK you are not OK
เข้าใจ “สัญญาณไฟจราจรอารมณ์” (Understand the Emotion Traffic Light) ไฟแดง(Red light) - หยุดคิด ! หายใจเข้าลึก ๆ (Stop thinking, Inhale deeply) - มีสติ (Be aware, Mindfulness) - ดูความคิด..ดูอารมณ์ (Observing thinking, Observing Feeling)
เข้าใจ “สัญญาณไฟจราจรอารมณ์”(ต่อ) ไฟเหลือง (Yellow Light) - รับรู้ปัญหา…รับรู้ความรู้สึก (Aware your problem, Emotion) - พูดกับเพื่อนใกล้ชิด หรือตัวเอง (Talk out, self talk) - ตรวจสอบความคิดด้วย RET (Check your thinking : RET) - มองปัญหาตามจริง / เชิงบวก (Look for fact / Positive) - ทุกปัญหามีทางแก้ไข (All problem can be solved) - วางแผนแก้ไข (Plan to solve) - คาดการณ์ผลลัพธ์จากการแก้ไข (Expecting all kind got consequences)
เข้าใจ “สัญญาณไฟจราจรอารมณ์”(ต่อ) • ไฟเขียว (Green Light) - ดำเนินตามแนวทางแก้ไข (Implement your plan) - แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม (Assertive) • ทางเบี่ยง (Detour) - บางครั้งอาจจะหลบหลีกปัญหา - ไม่ปะทะโดยตรง • ที่พักริมทาง (Rest area) - หาโอกาสที่จะชื่นชมตัวเอง - ให้ความสุขกับตัวเอง
เราต้องได้รับการยอมรับและเป็นที่รักจากทุกคนเราต้องได้รับการยอมรับและเป็นที่รักจากทุกคน เราควรจะรอบรู้และเก่งทุกอย่าง โทษตนเองเมื่อมีข้อผิดพลาด โทษคนอื่นเมื่อมีข้อผิดพลาด การไม่ได้ดังใจหวังเป็นสิ่งเลวร้าย หลีกเลี่ยงดีกว่าการเผชิญหน้า สุขและทุกข์ของเรามักเกิดจากการกระทำของผู้อื่น ชีวิตนั้นถ้าไม่ชั่วก็ต้องเป็นคนดี คิดเรื่องร้ายก่อนแล้วเรื่องดีๆ จะตามมา อดีตกำหนดปัจจุบัน เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทุกอย่างต้องมีคำตอบ ถ้าหากหาไม่ได้ถือว่า “โง่” การกระทำของคนต้องมีเหตุผลเชิงตรรกะ เราควรจะ หรือน่าจะ มีความสุขมากกว่านี้ ความคิดที่ไม่สมเหตุสมผล (Irrational Thinking)
3. การจูงใจตนเอง (Self Motivation) • มีลักษณะเป็นดาวฤกษ์ • มี Need for Achievement • รู้จักอดเปรี้ยวไว้กินหวาน (To be patient) • มี Abundant Mentality • มีความคิดสร้างสรรค์ (Be Creative) • มองโลกในแง่ดี (Be Optimistic)
4. ร่วมรู้สึก (Empathy) • ร่วมรับรู้อารมณ์ของผู้อื่น (To be sensitive to others feeling) - อ่านเรื่องเขียนถึงเด • ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดีด้วยการฝึกจับประเด็น (To practice Active Listening Technique) • การทบทวนคำพูดด้วยประโยคของคนอื่น
อ้างจาก ดร.วีระวัฒน์ ปันนิตามัย
อ้างจาก ดร.วีระวัฒน์ ปันนิตามัย
ลักษณะของ High EQ 1. แสดงความรู้สึกของตนเองอย่างชัดเจนและเปิดเผย 2. ไม่สับสนระหว่างความคิดกับความรู้สึก เช่น ไม่พูดว่า “ฉันรู้สึกเหมือนกับว่าฉันกำลังล่องลอยอยู่ในอากาศ” 3. ไม่ถูกครอบงำด้วยอารมณ์กลัว กังวลใจ ความรู้สึกผิด ละอายใจ ความขวยเขิน เปิ่นเชย ไม่อิสระ ผิดหวัง หมด หวัง สิ้นแรง และท้อแท้อยู่ตลอดเวลา 4. ไวต่อภาษาท่าทางของผู้อื่น สนใจความรู้สึกผู้อื่น
ลักษณะของ High EQ (ต่อ) 5. “ทำเพราะอยากจะทำ” ไม่ใช่ จำใจทำเพราะหน้าที่ 6. ทำด้วยความอิสระ ไม่ใช่ทำเพื่ออำนาจ ความร่ำรวย ชื่อเสียง หรือการได้รับการยอมรับ 7. มองโลกในแง่ดี ยืดหยุ่น คล่องตัว มีอิสระ 8. บอกอารมณ์อันหลากหลายของตนเองได้ 9. จัดการกับอารมณ์ด้วยเหตุผล ตามความเป็นจริง อย่างเหมาะสม
ว่าด้วยการบริหารอารมณ์ว่าด้วยการบริหารอารมณ์ คนโง่ มักจมอยู่ในอารมณ์ ด้วยคิดว่าอารมณ์คือเขา เขาคืออารมณ์ เขาจึงเป็นทาสอารมณ์เสมอ คนฉลาด ชอบปฏิเสธอารมณ์ เพราะคิดว่าอารมณ์คือสิ่งรบกวน ทำตัวเป็นคนสงบที่ไร้อารมณ์ เขาจึงเป็นเพื่อนกับผีดิบ คนเจ้าปัญญา ย่อมบริหารอารมณ์ สร้างอารมณ์ที่ควรสร้าง เสพอารมณ์ที่ควรเสพ ควบคุมอารมณ์ที่ควรควบคุม รักษาอารมณ์ที่ควรรักษา สลายอารมณ์ที่ควรสลาย เขาจึงเป็นนายของอารมณ์โดยสมบูรณ์ โดย ไชย ณ พล คนโง่ คนฉลาด คนเจ้าปัญญา
AQ Adversity Quotient ผศ. ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Email : k.thirasak@gmail.com
วัตถุประสงค์ในการเรียน AQ • รับทราบความหมายของ AQ (ทดสอบระดับ AQ) • รับทราบองค์ประกอบที่สำคัญของ AQ และการพัฒนาในแต่ละด้าน • 2.1 Control (การกำหนดสติ) • 2.2 Origin (การคิดหาสาเหตุของปัญหาอย่างเป็นระบบ, การคิดเชิงบวก) • & Ownership (ความรับผิดชอบในการแก้ปัญหา, ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์) • 2.3 Reach (ฝึกการควบคุมอารมณ์ด้านลบ) • 2.4 Endurance (ฝึกการสร้างกำลังใจให้กับตนเอง) • รับทราบถึงประเภทของบุคคลตามหลัก AQ • รับทราบถึงทฤษฎีของ AQ • การประยุกต์ใช้ AQ เพื่อการบริหาร และประโยชน์ของ AQ ในด้านต่างๆ • ฝึกฝนทักษะการวิเคราะห์ CO2RE ของสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติ และใช้หลักการดังกล่าวเพื่อแก้ปัญหาส่วนตัวและองค์การ
ความหมายของAQ AQหมายถึง ความสามารถในการควบคุมวิกฤติ มีสติ และมองวิกฤติมาจากปัจจัยภายนอกมากกว่าภายใน แต่ยินดีเข้าร่วมรับผิดชอบ ไม่ทำเรื่องเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่ อดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหาได้
Control ควบคุม, มีสติ Origin & Ownership ไม่โทษตนเอง แต่พร้อมรับผิดชอบแก้ไข องค์ประกอบของ AQ Paul G. Stoltz, 1997 Endurance อดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหา Reach ไม่ทำเรื่องเล็กเป็นเรื่องใหญ่
เชาว์ความอึด ความสามารถในการเผชิญอุปสรรคและเอาชนะปัญหา (AQ : Adversity Quotient) • ความสามารถในการเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาส • มองความล้มเหลวเป็นบันไดสู่ความสำเร็จ • มองปัญหาเป็นพลังชีวิต • เปลี่ยนทางชันให้เป็นทางลาด • “ปัญหามีไว้สำหรับการแก้ไขไม่ใช่มีไว้ท้อแท้”
งานวิจัยเกี่ยวกับ AQ ต่างประเทศ • ผู้ที่มี AQ สูง จะมีสุขภาพแข็งแรง ไม่ค่อยเจ็บป่วย หรือ หากเจ็บป่วยก็จะฟื้นตัวได้เร็ว (Seligman, 1991– ทำการศึกษา ในผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม) • AQ สามารถใช้พยากรณ์ความสำเร็จ ได้ 17 ประการ เช่น ผลการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สุขภาพ ความสุข (Stoltz, 1997)
งานวิจัยเกี่ยวกับ AQ(ต่อ) ในประเทศ : พบว่าAQ มี r+กับตัวแปรต่างๆ เช่น • EQ(ชวนจิตร, 2544; วรวรรณ, 2548; ธีระศักดิ์, 2550) • ผลการปฏิบัติงานและความสำเร็จในวิชาชีพ(นภดล, 2545; อรพินท์, 2546; วรรณวิภา, 2548) • ความสม่ำเสมอและใฝ่ใจในการเรียนรู้(ปลีนา, 2550) • จริยธรรมธุรกิจ (ธีระศักดิ์, 2550) • การฝึกอบรม AQ สามารถเพิ่มระดับ AQ ได้(นันทิยา, 2547; ญาณิกา, 2549; อนันต์, 2550)แสดงให้เห็นว่า AQ สามารถ เรียนรู้ได้
The Age of Adversity แถลงรวบมือฆ่าน้องการ์ตูน สารภาพเคยฆ่าข่มขืนเด็กมา 4 ศพ คนไทยมีปืน ซื้อง่ายขายคล่อง สัญญาณอันตราย ฆ่ากันตายเป็นว่าเล่น รวบเจ้าของเว็บฉาว ให้บริการโพสต์รูปโป๊แฉแฟนเก่า เพื่อแบล็คเมล์ สถิติผู้ป่วยเบาหวานพุ่งทั่วโลก ยังไม่แก่ก็เป็นได้ ขาดเธอขาดใจ…ภาวะโรคติดสมาร์ทโฟนเรื้อรัง แฟนบอลพม่าคลั่ง “เผาเสื้อ – พังสนาม” หลังฟุตบอลร่วงซีเกมส์ “จำนำข้าว” ป่วน ชาวนาชะเง้อรอเงิน อากาศแปรปรวน! หิมะตกในกรุงไคโร อียิปต์ ในรอบ 112 ปี
ผู้ชอบท้าทาย นักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ (Climber) ผู้รักความสบายกลางทาง (Camper) ผู้ยอมแพ้ (Quitter) บุคคลสามประเภท
ลักษณะนักสู้ 3 ประเภท (ต่อ) ที่มา: “วัดเอคิวว่าเป็นนักสู้แค่ไหน”, มติชนรายวัน, 1 สิงหาคม 2545, น. 17
บุคคลสามประเภทกับระดับความต้องการบุคคลสามประเภทกับระดับความต้องการ Self Actualization Climber Esteem Camper Social Need Safety Quitter Basic Need (Stoltz, 1997)
The WinnerVSThe Loser ผู้ชนะจะทำตนเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบสำหรับปัญหาเสมอ ผู้แพ้จะทำตนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาสำหรับคำตอบเสมอ ผู้ชนะจะมีโครงการใหม่ๆ ในการทำงานเสมอ ผู้แพ้จะมีแต่ข้อแก้ตัวในการทำงานเสมอ ผู้ชนะพร้อมจะพูดว่า “มีอะไรให้ฉันช่วยไหม?” เสมอ ผู้แพ้พร้อมจะพูดว่า “ขอโทษ…นั่นไม่ใช่งานของฉันย่ะ” เสมอ ผู้ชนะคือผู้ที่สามารถเห็นคำตอบสำหรับทุกปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้แพ้คือผู้ที่สามารถเห็นปัญหาในทุกๆ คำตอบที่เกิดขึ้น ผู้ชนะคือผู้ที่เห็นโอกาสในวิกฤติเสมอ ผู้แพ้คือผู้ที่เห็นวิกฤติในทุกโอกาส ผู้ชนะคือผู้ที่พูดว่าถึงแม้ว่าจะยากแต่ก็มีโอกาสที่แก้ไขได้ ผู้แพ้คือผู้ที่พูดว่าถึงแม้จะมีโอกาสที่แก้ไขได้แต่ก็ยากเกินไปที่จะทำ ขอให้เป็นผู้ชนะ! แปลและเรียบเรียงโดย ผศ.ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์ จากข้อความของชินวัตรคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบความสามารถของ AQ 1. จิตวิทยาการรู้คิด (Cognitive Psychology) - มองปัญหาแค่ชั่วคราว - ปัญหาไม่ลุกลาม…มักเกิดจากภายนอก - มีสติ…ควบคุมสถานการณ์ได้ (ILC) - ล้มแล้วลุกขึ้นสู้อย่างรวดเร็ว…ฟื้นตัวเร็ว - มองเห็นตัวเองมีความสามารถ (Self Efficacy) - มองโลกในแง่ดี มีความสุข
องค์ประกอบความสามารถของ AQ(ต่อ) 2. สรีระระบบประสาท (Neurophysiology) - ประสาทสมองสร้างนิสัยที่ดีได้ (cell ใหม่ที่ดี) - สร้างนิสัยที่ดีเสมอเพื่อทดแทนนิสัยที่ไม่ดี (ทำลาย cell เก่าที่ไม่ดี) - สะกดจิตให้คิดแต่สิ่งดีๆ เสมอ - ท่อง “Day by Day… I am getting better” - ตื่นเช้าแล้ววางแผนสร้างนิสัยที่ดีสำหรับวันใหม่
องค์ประกอบความสามารถของ AQ(ต่อ) 3. ระบบภูมิคุ้มกันจิตประสาท(Psychoneuroimmunology) - บริหารอารมณ์เพื่อสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็ง - ทำดี…เป็นผู้ให้เพื่อสร้างสาร Endorphin - ออกกำลังกาย…นอนเป็นเวลา…จิตสมาธิ - มองโลกในแง่ดี บันทึกอารมณ์ประจำวันช่วย ให้บริหารอารมณ์ได้ดี - AQ ช่วยให้สุขภาพกายและจิตดี
AQ for Management 1. กระตุ้นให้พนักงานรักษาพลังในการแข่งขันเสมอ 2. อบรมสม่ำเสมอ เพื่อยกระดับความสามารถในการทำงาน 3. เปิดโอกาสให้พนักงานใช้พลังความคิดสร้างสรรค์ 4. เชิญชวนพนักงานพักผ่อน ออกกำลังกาย มีกิจกรรม ร่วมกัน เพื่อรักษาความมีชีวิตชีวาเสมอ 5. ชื่นชม ให้กำลังใจแก่พนักงานที่ทำงานสำเร็จ 6. เปิดโอกาสให้พนักงานกล้าตัดสินใจรับผิดชอบในงาน ที่มีความเสี่ยงสูง
AQ for Management (ต่อ) 7. ปลอบโยนและให้กำลังใจ เมื่อพนักงานอยู่ในภาวะกดดัน อย่างหนัก 8. มอบหมายงานที่ยากและท้าทายเพื่อให้พนักงานได้พัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัว 9. ส่งเสริมให้ผ่อนคลายทางจิต การนั่งสมาธิ มีจริยธรรม ในการทำงาน 10. หลีกเลี่ยงการวิจารณ์ ตำหนิ พูดในทางลบ คิดทางลบ แต่ให้ข้อมูลสะท้อนกลับเชิงสร้างสรรค์ 11. ให้เรียนรู้ที่จะรับผิดชอบก่อน (มิใช่แก้ตัว!) แล้วค้นหา สาเหตุของปัญหาร่วมกัน 12. สร้างอารมณ์ขันให้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของการทำงาน
ประโยชน์ของ AQ • เพิ่มรายได้ มีผลการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น (Dr. Gideon Markman) • เพิ่มยอดขาย มากกว่า 90 - 120 % (SBC Telecommunication) • ช่วยให้เลื่อนตำแหน่งได้เร็วขึ้น (Deloitte & Touche) • ช่วยให้บริการลูกค้าดีขึ้น (SunTrust Bank) • ช่วยให้พัฒนาตนเอง เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ดี • มีความมุ่งมั่น ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค (Stoltz, 1997) • เจอปัญหาหรือวิกฤติ ฟื้นตัวได้รวดเร็ว • สร้างทีมงานได้แข็งแกร่ง • ลดความเหนื่อยล้าจากความยากลำบากได้เร็วขึ้น • เตรียมบุคลากรและผู้นำเพื่อเผชิญกับความลำบากของการเริ่มงาน ใหม่หรือโครงการใหม่
ผลการปฏิบัติงาน (Performance) สติปัญญา (Talent) และความปรารถนา (Desire) คุณธรรม สุขภาพ IQ ความศรัทธา การอบรมเลี้ยงดู กรรมพันธุ์ ต้นไม้แห่งความสำเร็จ (Stoltz, 1997) AQ = ดิน
เปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสได้อย่างไรเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสได้อย่างไร 1. มีความเชื่อมั่นต่ออนาคตตนเอง (Be-Winner) 2. ยอมรับข้อผิดพลาดของตนเองได้ (ผิดเป็นครู) 3. มีอิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) 4. เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา 5. พัฒนาตนเองตามแนว CO2RE 6. เพิ่มทักษะนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ (Climber) ด้วย LEAD หรือ Adversity Sequence 7. เรียนรู้การหยุดคิดวิบัติ (Stop! Catastrophizing)