420 likes | 708 Views
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP. อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com ม. ราชภัฎพระนคร. ประวัติ PHP. PHP ย่อมาจาก Professional Home Page เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4
E N D
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHPIntroduction to PHP อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com ม. ราชภัฎพระนคร
ประวัติ PHP • PHP ย่อมาจาก Professional Home Page • เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 • ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf • ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 - Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 - Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 - Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 - Version 4 Beta 2 ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) - ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 5 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง คือ PHP5
PHP คืออะไร • เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP • การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML • สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT, Windows 9x • ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, mSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น
ลักษณะเด่นของ PHP • ใช้ได้ฟรี • PHP เป็นโปรแกรมที่ทำงานฝั่ง Sever ดังนั้นขีดความสามารถไม่จำกัด • Cross-platform นั่นคือPHP ทำงานบนเครื่อง UNIX,Linux,Windows ได้หมด • เรียนรู้ง่าย เนืองจาก PHP ฝั่งเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ • เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้โปรแกรมจาก • ภายนอก • ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที • ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ • ใช้กับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ใช้กับโครงสร้างข้อมูลใช้ได้แบบ Scalar,Array,Associative array • ใช้กับการประมวลผลภาพได้
การทำงานของ PHP • ทำงานบน Web Server ได้หลายตัว เช่น • Apache • IIS • Tomcat • PWS • ทำงานร่วมกับเอกสาร html • สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร html • ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ • แสดงผลออกทาง Web Browsers
เริ่มต้นการทำงานกับ PHP เตรียมความพร้อมก่อนใช้งาน PHP • ติดตั้งโปรแกรม Appserv • Apache • Mysql • PHPMyadmin • ทดสอบการทำงานของ Apache WebServer
โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 2 SGML style <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง <script language=“php”> echo “Hello ! World”; </script>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>
โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ) • จากตัวอย่าง แบบที่เป็นที่นิยมมากที่สุดก็คือ แบบที่ 1 • ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello ! World ! I am PHP • ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง • File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php หรือ php3 เท่านั้น
การทดสอบการทำงานของ PHP การทดสอบการทำงานของ PHP สามารถทำได้โดยการ เปิดโปรแกรม Browser ขึ้นมาแล้วก็พิมพ์ URL ตาม ต.ย. ข้างล่างนี้ • http://localhost/test.php <?php echo "<h1>Welcome to PHP World </h1><br>"; echo "GIGO : Gabag In Gabag Out"; ?>
โดยปกติการตั้งชื่อเว็บหน้าแรก มักจะตั้งชื่อตาม ต.ย. ข้างล่างนี้ Index.html Index.php Index.asp Index.jsp http://localhost Root Directory WWW
Language Reference • Comments - เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix • ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัด ตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?>
คำสั่ง echo • เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser • รูปแบบของคำสั่ง echo ข้อความ1 หรือตัวแปร1, ข้อความ2 หรือตัวแปร2, ข้อความ3 หรือตัวแปร3, … • ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (““) หรือ single quote (‘‘) • ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl
ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง echo <?php echo "<center><h1>Welcome to PHP World </h1> </center><br>"; echo "<center>GIGO : Gabag In Gabag Out</center>"; echo "<center>"; echo "Today’s Date:"; echo Date('l F d, Y') ; echo "</center>"; ?>
ตัวอย่างที่ 1 intro-1.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> <BODY> <? echo "Hi, I'm a PHP script!"; ?> <BODY> </HTML> Hi, I'm a PHP script!
ตัวอย่างที่ 2 intro-2.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday April 06, 2000
ตัวอย่างที่ 3 intro-3.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –3</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? /* ** print today’s date */ print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday April 06, 2000
ตัวอย่างที่ 4 <?php $YourName = "Seree"; $Today = date("l F d, Y"); $CostOfLunch = 3.50; $DaysBuyingLunch = 4; ?> <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –4</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <?php /* ** print today’s date */ print("<H3>$Today</H3>\n"); ยังไม่หมด มีต่อหน้าถัดไป
ตัวอย่างที่ 4 (ต่อ) /* ** print message about lunch cost */ print("$YourName, you will be out "); print($CostOfLunch * $DaysBuyingLunch); print(" dollars this week.<BR>\n"); ?> </BODY> </HTML>
ตัวอย่างที่ 5 intro-5.php3 <?php echo '<pre>First Paragraph: Corporal Carrot, Ankh-Morpork City Guard (Night Watch), sat down in his nightshirt, took up his pencil, sucked the end for a moment, and then wrote:</pre>'; ?>
ตัวอย่างที่ 6 intro-6.php3 <?php echo '<pre>'; echo `ls *.php3`; echo '</pre>'; ?>
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.php.net
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.appserv-network.net
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.mysql.com
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://tomcat.apache.org