230 likes | 472 Views
“เกษตรศาสตร์เทิดพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื่อประชาไทยในประชาคมอาเซียนอยู่เย็นเป็นสุข”. จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน วันอังคารที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น.
E N D
“เกษตรศาสตร์เทิดพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื่อประชาไทยในประชาคมอาเซียนอยู่เย็นเป็นสุข” จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน วันอังคารที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาลมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
1. ข้อตกลง AFTA/AEC 1.1 เป็นข้อตกลงที่มีลักษณะครอบคลุม 1) ครอบคลุมหลายเป้าหมายทางเศรษฐกิจ • AEC Blueprintประกอบด้วย 4 เสาหลัก • เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • เป็นภูมิภาคเศรษฐกิจที่แข่งขันสูง • เป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจเท่าเทียมกัน • บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์
2) ครอบคลุมการเปิดเสรีทุกกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • เคลื่อนย้ายบริการเสรี • เคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี • เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี • เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี
3) ครอบคลุมการเปิดเสรีทุกภาคการผลิต • ครอบคลุมการเปิดเสรีการค้าสินค้าทุกชนิด • ยกเลิกมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) ทั้งหมด • ยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าถึงตลาด • เปิดเสรีการลงทุนในทุกอุตสาหกรรมทุกประเภท
ตารางที่ 1 มาตรการลดอัตราภาษีนำเข้าและมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี หมายเหตุ : * อินโดนีเซียคงอัตราภาษีที่ 40% จนถึงปี 2557 โดยไทยจะได้รับการชดเชยเป็นการนำเข้าน้ำตาลขั้นต่ำปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ** เงื่อนไขนี้ยังต้องรอเจรจา ปัจจุบัน ฟิลิปปินส์เรียกเก็บภาษีนำเข้าข้าวตาม WTO ที่ 40% และกำหนดโควตา 3.5 แสนตัน
ตารางที่ 2 มาตรการอนุญาตให้ต่างชาติ (ในอาเซียน) ถือหุ้นในกิจการภาคบริการ
1.2 เป็นข้อตกลงที่เน้นการเปิดเสรีนอกภาคเกษตรกรรมมากกว่าภาคเกษตร • ประเทศสมาชิกล้วนปกป้องภาคเกษตร • บัญชีอ่อนไหวและอ่อนไหวสูง เป็นสินค้าเกษตร • กำหนดมาตรฐานเดียวสำหรับสินค้าในกลุ่มอาหาร เกษตร และป่าไม้ อาจกลายเป็น NTBs
1.3 เป็นข้อตกลงที่เปิดเสรีแบบค่อยเป็นค่อยไป ตารางที่ 3 อัตราอากรนำเข้าเฉลี่ยตาม AFTA/CEPT (%) ที่มา : ASEAN Secretariat
ตารางที่ 4 อัตราอากรนำเข้าเฉลี่ย (ถ่วงน้ำหนักด้วยปริมาณการค้า) และดัชนีการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ที่มา: Global Competitiveness Report, 2010
2. ผลประโยชน์และผลกระทบของการเปิดเสรีต่อเศรษฐกิจของประเทศ 2.1 ผลประโยชน์และผลกระทบในภาพรวม 1) ผลประโยชน์โดยรวม • เข้าถึงตลาดมีขนาดใหญ่ขึ้น • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้บริโภคได้สินค้าที่มีราคาถูกลง • เป็นฐานการผลิตร่วม • ดึงดูดการลงทุนจากภายนอกภูมิภาค • เพิ่มอำนาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศ 2) ผลกระทบโดยรวม • การแข่งขันรุนแรงขึ้น • การย้ายฐานการผลิตไปสู่ประเทศอื่น • การแย่งทรัพยากรและแรงงานมีฝีมือ • สินค้าบางประเภทมีราคาสูงขึ้น
2.2 ผลกระทบต่อ GDP ตารางที่ 5 ผลกระทบ AEC ต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของ GDP ของประเทศสมาชิกในปี 2558 ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ตารางที่ 6 รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดเสรีตามข้อตกลง AEC (บาทต่อปี)
2.3 ผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจต่างๆ ตารางที่ 7 ผลกระทบของ AEC ต่อผลผลิตของภาคเศรษฐกิจต่างๆ ของ ASEAN ในปี 2558 (% ของการเปลี่ยนแปลงจากแนวโน้มเดิม) ที่มา : Petri et. al (2010)
ตารางที่ 8 การคาดการณ์ผลกระทบของ AEC ต่อภาคเศรษฐกิจของไทย ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ (2548) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2553)และ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
3. การชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเจรจาตาม AFTA 3.1 มาตรการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • ไม่มีมาตรการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • มีมาตรการอื่นที่ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี 1) การช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของผู้ได้รับผลกระทบ (กองทุน FTA)
ตารางที่ 9 ลักษณะการดำเนินงานของกองทุน FTA ของกระทรวงเกษตรฯและกระทวงพาณิชย์
2) การบริหารการนำเข้า • จัดทำระบบติดตามการนำเข้า • กำหนดมาตรฐานสินค้าและพิธีการศุลกากรที่เข้มงวด 3) การใช้มาตรการปกป้องฉุกเฉิน • พ.ร.บ.มาตรการปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น 2550 • ตอบโต้การทุ่มตลาด การอุดหนุน และ พ.ร.บ.สินค้าปลอดภัย 4) การสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกร 5) การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน
3.2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี 1) การกำหนดมาตรการช่วยเหลือค่อนข้างล่าช้า 2) การกำหนดมาตรการช่วยเหลือมีลักษณะตั้งรับ • ผู้ที่ได้รับผลกระทบต้องเป็นผู้ริเริ่มขอการช่วยเหลือ 3) มาตรการช่วยเหลือเป็นมาตรการเฉพาะหน้า • ช่วยเหลือเมื่อเกิดผลกระทบแล้ว 4) มาตรการช่วยเหลือมีลักษณะกระจัดกระจาย
4. แนวทางพัฒนาเศรษฐกิจภาคเกษตรของประเทศเพื่อแข่งขันในเขตอาเซียน 4.1 ส่งเสริมการทำฟาร์มเกษตรขนาดใหญ่ (farm mechanization) 4.2 ส่งเสริมฟาร์มเกษตรขนาดเล็กให้ผลิตสินค้าที่แตกต่าง 4.3 จัดโซนการผลิตสินค้าเกษตร 4.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น (น้ำ R&D)
5. แนวทางแก้ปัญหามาตรการชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเจรจาตามข้อตกลง AFTA • กำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมและแต่ละอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน • จัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยค่าเสียหาย (compensation) แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • กำหนดมาตรการเชิงรุกเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ • เจรจาการค้าเสรีโดยใช้กลไกตลาด
สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาได้ให้บริการงานวิจัย ฝึกอบรม และคำปรึกษาการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศมากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปีที่ผ่านมา • บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด • ให้บริการคำปรึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • • จัดโครงการฝึกอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • • ฝึกอบรมสำหรับบุคคลทั่วไป (Public Training) และฝึกอบรมแบบ In-house • • จัดWalk Rally และงานสัมมนา (บริการทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พัก) • • บริการสำรวจความคิดเห็น การทำPoll การวิจัยเชิงสำรวจ • • กิจกรรมพิเศษ (Event) • สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม • 87/110 อาคารโมเดอร์นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 • โทรศัพท์สำนักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495 • โทรสาร : 0 2382 1565 • www.ifdtraining.com • อีเมล์: Info@ifdtraining.com , ifdtraining03@gmail.com
กองทุนเวลาเพื่อสังคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel & Fax : 0-2711-7494 ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 สามารถติดตามข่าวสาร ทาง Social Network ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (Dr.Dan) ได้ที่... http://www.facebook.com/drdancando http://twitter.com/drdancando http://drkriengsak.hi5.com www.drdancando.com www.oknation.net/blog/kriengsak