320 likes | 776 Views
บทที่ 8. การบัญชีต้นทุนตอน. PROCESS COSTING. มีการผลิตแบบต่อเนื่อง สินค้าที่ผลิตไม่มีความแตกต่างกัน สินค้าผลิตครั้งละมาก ๆ กระบวนการผลิตในโรงงานมักมีการแบ่งเป็นช่วง ๆ หรือเป็นแผนก. วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายโรงงาน. งานระหว่าง ผลิต 1. งานระหว่าง ผลิต 2. งานระหว่าง
E N D
บทที่ 8 การบัญชีต้นทุนตอน
PROCESS COSTING • มีการผลิตแบบต่อเนื่อง • สินค้าที่ผลิตไม่มีความแตกต่างกัน • สินค้าผลิตครั้งละมาก ๆ • กระบวนการผลิตในโรงงานมักมีการแบ่งเป็นช่วง ๆ หรือเป็นแผนก
วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายโรงงาน งานระหว่าง ผลิต 1 งานระหว่าง ผลิต 2 งานระหว่าง ผลิต 3 งานระหว่าง ผลิต 4 สินค้าสำเร็จรูป ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป รูปแสดงระบบต้นทุนตอน
Job order costing 1. สินค้าแต่ละงานแตกต่าง กันมาก 2. จะรวบรวมต้นทุนไว้ตามงานที่ผลิต 3. มีงบต้นทุนงาน (JOB SHEET) 4. ต้นทุนต่อหน่วยเป็นของแต่ละงานคำนวณจากงบต้นทุนงาน Process costing 1. สินค้าทุกหน่วยที่ผลิตไม่ต่างกัน 2. จะรวบรวมต้นทุนตามแผนกที่ผลิต 3. มีรายงานต้นทุนการผลิตของแต่ละแผนก 4. ต้นทุนต่อหน่วยคำนวณจากรายงานต้นทุนการผลิตของแต่ละแผนก เปรียบเทียบต้นทุนงานและต้นทุนช่วง
Process Costing DirectMaterials Conversion Overhead Dollar Amount DirectLabor Type of Product Cost
1. การจัดหาปัจจัยการผลิต การบันทึกบัญชีสามารถสรุปได้ดังนี้
2. การผลิต เป็นกระบวนการผลิตเริ่มต้นจากการเบิกปัจจัยการผลิต ในแผนกต่างๆ ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายโรงงาน Dr. งานระหว่างทำ-แผนก........... Xx Dr. งานระหว่างทำ-แผนก........... Xx Cr. วัตถุดิบ xx Cr. ค่าแรง xx Cr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการโอนหน่วยผลิตเสร็ จและต้นทุนที่เกี่ยวข้องไปแผนกถัดไปเพื่อทำการผลิตต่อไป มีดังนี้ Dr. งานระหว่างทำ-แผนก...........(แผนกถัดไป) xx Cr. งานระหว่างทำ-แผนก..........(แผนกก่อน) xx
3. เมื่อแผนกสุดท้ายผลิตเสร็จ เป็นสินค้าพร้อมที่จะขาย เรียกว่าสินค้าสำเร็จรูป จะโอนต้นทุนการผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูป โดยต้นทุนสินค้าสำเร็จรูปคือ ต้นทุนการผลิตที่สะสมไว้ตั้งแต่แรกจนถึงแผนกสุดท้าย
4. การขาย กิจการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการขายดังนี้
การบันทึกการบัญชี - PROCESS COSTING Dr. WIP - 1 xx Dr. WIP - 2 xx Cr.M xx Cr. M xx L xx L xx OH xx OH xx บันทึกการใช้ต้นทุนของแต่ละแผนก
วิธีการบัญชี - PROCESS COSTING(ต่อ) Dr. WIP - 2 xx Dr. F/G xx Cr.WIP- 1 xx Cr. WIP-2 xx บันทึกการโอนต้นทุน
การคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จการคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จ หากต้องการทราบต้นทุนการผลิตต่อหน่วย จะต้องนำต้นทุนการผลิต หารด้วยปริมาณสินค้าที่ผลิต ต้นทุนต่อหน่วย = ต้นทุนการผลิตประจำงวด ปริมาณการผลิต
FinishedGoods Work inProcess Cost of GoodsSold Comparing Job-Orderand Process Costing Direct Materials Direct Labor ManufacturingOverhead
FinishedGoods Cost of GoodsSold Job-Order Costing Costs are traced andapplied to individualjobs in a job-ordercost system. Direct Materials Direct Labor Job #001 ManufacturingOverhead
FinishedGoods Cost of GoodsSold Process Costing Costs are traced and applied to departments in a process cost system. Direct Materials Direct Labor Department 1 ManufacturingOverhead
Process Cost Flows Work in Process Department B Work in ProcessDepartment A • Direct Materials Transferred to Dept. B • Direct Materials • Direct Labor • Direct Labor • AppliedOverhead • AppliedOverhead • Transferred from Dept. A
รายงานหรืองบต้นทุนการผลิตรายงานหรืองบต้นทุนการผลิต เป็นรายงานหรืองบที่แสดงข้อมูลโดยสรุปเกี่ยวกับการใช้ต้นทุน รายงานหรืองบต้นทุนการผลิต ในแต่ละแผนกจะแสดงให้เห็นต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วย ดังนั้นรายงานหรืองบต้นทุนการผลิตถือเป็นเอกสารที่ให้ข้อมูลประกอบบันทึกรายการ การโอนต้นทุน แยกเป็น 4 ส่วนดังนี้ 1. ปริมาณการผลิต 2. หน่วยเทียบเท่าหน่วยสมบูรณ์ 3. ต้นทุนการผลิต 4. ต้นทุนชนิดสินค้าที่ผลิต
ส่วนที่ 1 ปริมาณการผลิต เป็นการแสดงการคำนวณ และข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณการผลิต ในงวดระยะเวลาหนึ่งๆ นอกจากนี้ยังแสดงถึงส่วนของปริมาณหน่วยผลิตเสร็จ ส่วนที่ 2 หน่วยเทียบเท่าหน่วยสมบูรณ์ ในการคำนวณต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ต้องคำนวณโดยการหารต้นทุนการผลิตด้วยปริมาณการผลิต ดังนั้นจึงต้องคำนวณโดยทำให้เป็นหน่วยเทียบเท่าสมบูรณ์ ส่วนที่ 3 ต้นทุนการผลิต เป็นการแสดงถึงข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนยกมาในวันต้นงวดบัญชี บวกต้นทุนที่ใช้ในระหว่างงวดบัญชี ส่วนที่ 4 ต้นทุนชนิดสินค้าที่ผลิต เป็นการแสดงการคำนวณข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสรรต้นทุนการผลิตทั้งหมดว่าเป็นต้นทุนของผลผลิตที่ได้ผลิต
หน่วยเทียบเท่าสมบูรณ์ (Completed Equivalent Units) หน่วยเทียบเท่า คือ หน่วยที่ยังผลิตไปเพียงบางส่วน ยังผลิตไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้น หากจะนำไปคิดหาต้นทุนต่อหน่วย ก็ควรจะเทียบเป็นหน่วยผลิตเสร็จสมบูรณ์เสียก่อน
+ = 1 สินค้า 2 หน่วย ผลิตไปได้ 50% จะเทียบเท่ากับสินค้าที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว กี่หน่วย ดังนั้น สินค้า 10,000 หน่วย ผลิตไปได้ 70% จะเท่ากับกี่หน่วยเทียบเท่า
ส่วนประกอบของงบต้นทุนการผลิตประจำแผนกส่วนประกอบของงบต้นทุนการผลิตประจำแผนก แยกออกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 การคำนวณเกี่ยวกับปริมาณการผลิต ส่วนที่ 2 การคำนวณเกี่ยวกับหน่วยเทียบเท่าสมบูรณ์ (Equivalent Units) ส่วนที่ 3การคำนวณเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต ส่วนที่ 4การคำนวณเกี่ยวกับการจัดสรรต้นทุนการผลิตที่โอนออก/ผลิตเสร็จ และต้นทุน WIP
งบต้นทุนการผลิต • ต้นทุนจะถูกจำแนกตามปัจจัยการผลิต • วัตถุดิบทางตรง (DM) • แรงงานทางตรง (DL) • ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) • งบต้นทุนการผลิตจะรายงานในลักษณะต้นทุนรวม (total cost) และต้นทุนต่อหน่วย (unit cost)
ขั้นที่ 1 : ปริมาณการผลิต 1. งานระหว่างทำต้นงวด xx 2. หน่วยเริ่มในงวด xxxx 3. หน่วยผลิตเสร็จ xx 4. งานระหว่างทำปลายงวด xxxx
ขั้นที่ 2 : หน่วยเทียบเท่า ต้นทุนในแผนก รับโอน DM DL OH 5. หน่วยผลิตสำเร็จ xx 6. WIP ปลายงวด xx 7. รวม xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx
ขั้นที่ 3: ต้นทุนการผลิต ต้นทุนในแผนก รับโอน DM DL OH 8. ต้นงวด xx 9. ในระหว่างงวดxx 10. รวม xx 11. @ xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx
ขั้นที่ 4: ต้นทุนหน่วยสินค้า ในแผนก รับโอน DM DL OH 12. ผลิตเสร็จ xx 13. WIP ปลายงวดxx 14. รวม xx xx xx xx xx xx xx xx xx xx
หน่วยเทียบเท่า (Equivalent Unit) = หน่วยนับของสินค้าในการใช้ต้นทุน โดยหน่วยที่ทำเสร็จ = 1 นทท. หน่วยที่ทำเสร็จ 20% = 0.2 นทท. หน่วยทำเสร็จ 90% = 0.9 นทท. นั่นคือ การคำนวณหน่วยเทียบเท่านั้นให้ใช้สัดส่วนที่แล้วเสร็จ = เป็นการใช้ต้นทุนตามสัดส่วน
หน่วยเทียบเท่า (Equivalent Unit) (ต่อ) สินค้าผลิตเสร็จ 100 ตัว หน่วยเทียบเท่าหน่วยสมบูรณ์ หรือ หน่วยเทียบเท่าการใช้ต้นทุน = 100 % 100%[100] = 100 นทท. ดังนั้น การคำนวณ หน่วยเทียบเท่าให้คำนวณ นทท. ของสินค้าแต่ละรายการ เป็น นทท. การใช้ต้นทุนแต่ละชนิด
หน่วยเทียบเท่า (Equivalent Unit) (ต่อ) (ถ้า % เดียวกัน เขียนช่องเดียวกันได้) (ถ้า DM = 80 % DL&OH = 20%) แยกช่อง DM , DL&OH = 2 ช่อง (ถ้า DM = 100% DL = 50% OH = 20%) แยกช่อง DM , DL&OH = 3 ช่อง
สินค้าที่ผลิตไม่เสร็จ [WIP] อาจมีสัดส่วนการใช้ต้นทุนแต่ละชนิดต่างกัน DMDL&OH WIP 100 ตัว DM 100% DL&OH 55% WIP 80 ตัว DM 100% DL&OH 20% 100 55 80 16 71 180