160 likes | 420 Views
วิเคราะห์สถานการณ์และพยากรณ์โรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย พศ. 2546 – 2555 Situation analysis and forecast cases of leptospirosis in Thailand, 2003-2012. เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. บทนำ. Passion.
E N D
วิเคราะห์สถานการณ์และพยากรณ์โรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย พศ. 2546 – 2555Situation analysis and forecast cases of leptospirosis in Thailand, 2003-2012 เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
บทนำ Passion - ไปประชุมวิชาการโรคเลปโตสไปโรซิส อยากรู้: ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิต อยากรู้: เข้าหน้าฝนแล้ว รายงานโรคเยอะขึ้น ระบาดหรือยัง
วัตถุประสงค์ 1. 2.
วิธีการศึกษา • รวบรวมข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2546 - 2554 จาก รง. 506 • นิยามโรคเลปโตสไปโรซิสจากแนวทางการรายงานโรคเลปโตสไปโรซิสในระบบเฝ้าระวังโรค • ข้อมูลที่ได้จากศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้Microsoft Access • จัดการข้อมูลให้มีความสมบูรณ์สำหรับการวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆ ด้วยEpi Info • วิเคราะห์สัดส่วน ร้อยละของแต่ละตัวแปร โดยใช้ SPSS version 17.0
วิธีการศึกษา • Logistic regression Odds ratio และ 95% CIs ของปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสโดยใช้ SPSS version 17.0 • Multivariate logistic regression(backward-elimination procedure) Adjusted odds ratio และ 95% CIs ของปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสควบคุมตัวแปรกวนได้แก่ อายุ เพศ และอาชีพ • พยากรณ์โรคโดยใช้รูปแบบจำลองของ AutoregressiveIntegrated Moving Average กับชุดขอมูลรายเดือนและรายปี โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555 เพื่อพยากรณ์ข้อมูลช่วงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยใช้ SPSS version 17.0
รูปที่ 1 แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสตามวันเริ่มป่วยจำแนกตามรายเดือน และเหตุการณ์อุทกภัยครั้งสำคัญในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2546-2555
ตารางที่ 1 แสดงลักษณะทางระบาดวิทยาระหว่างผู้เสียชีวิตและผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่รอดชีวิต พ.ศ. 2546-2554
ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงแบบ Multivariate regression analysis เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสระหว่างปี พ.ศ. 2546-2554 กับผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่รอดชีวิตในช่วงเวลาเดียวกัน 45 % of all deaths were estimated to be attributable to delay of treatment (three days after onset) among thoseleptospirosis cases
พยากรณ์โดยใช้ ARIMA model เพื่อดูแนวโน้มของการเกิดโรคในปี พ.ศ. 2555 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม- All the models tested, the ARIMA (2, 0, 12); the best fit- The mean absolute percentage error (MAPE) value was 21.593%- R-squared = 0.780 - Ljung-Box statistic= 12.894 (P-value) = 0.535- กรกฎาคม พ.ศ. 2555 น่าจะมีผู้ป่วย521 ราย (95% CIs; 304, 838 ราย)- สิงหาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 533 ราย (246 ราย ถึง 1,016 ราย) - กันยายน พ.ศ. 2555 จำนวน 474 ราย (197 ราย ถึง 970 ราย)- ตุลาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 470 ราย (190 ราย ถึง 978 ราย)- พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 จำนวน 361 ราย (146 ราย ถึง 752 ราย)- ธันวาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 263 ราย (105 ราย ถึง 550 ราย) คาดการณ์ว่า
รูปที่ 4 การพยากรณ์การรายงานโรคเลปโตสไปโรซิสระหว่างปี พ.ศ. 2546-2555 ด้วยรูปแบบจำลอง AutoregressiveIntegrated Moving Average (ARIMA) An abnormal event ? จำนวนผู้ป่วยเกิน Upper 95% CI