250 likes | 498 Views
การเสวนากลุ่มย่อย เรื่อง การเปิดตลาดสินค้าของอาเซียน. ผู้นำการเสวนา : นายภาษิต พุ่มชูศรี นักวิชาการพาณิชย์ 9 ชช. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ผู้ร่วมการเสวนา : นายอรินทร์ จิรา รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
E N D
การเสวนากลุ่มย่อยเรื่อง การเปิดตลาดสินค้าของอาเซียน ผู้นำการเสวนา: นายภาษิต พุ่มชูศรี นักวิชาการพาณิชย์ 9 ชช. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ผู้ร่วมการเสวนา: นายอรินทร์ จิรา รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ดร.ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา รองประธานคณะกฎระเบียบฯ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญในระยะแรกความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญในระยะแรก • ความตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน หรือ ASEAN PTA (Preferential Trading Arrangements : PTA) • โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN Industrial Project: AIP) ปี พ.ศ. 2523 • โครงการแบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN Industrial Complementation: AIC) ปี พ.ศ. 2524 • โครงการร่วมลงทุนด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Joint Ventures: AIJV) ปี พ.ศ. 2526 • โครงการแบ่งผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (Brand-to-Brand Complementation: BBC) ปี พ.ศ. 2532
เขตการค้าเสรีอาเซียน ASEAN Free Trade Area : AFTA เป้าหมาย 1. การลดภาษีสินค้า - ร้อยละ 0-5 ในปี 2546 - ร้อยละ 0 - ในปี 2553 สำหรับสมาชิกเดิม - ในปี 2558 สมาชิกใหม่ 2. ยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีระหว่างกัน วัตถุประสงค์ 1. สร้างความสามารถในการแข่งขัน ของสินค้าอาเซียน 2. ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ 3. สร้างอำนาจต่อรองในเวทีการค้าโลก สถานะล่าสุดการลดภาษีภายใต้อาฟตา - ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ: 80% ของสินค้าอาฟต้ามีอัตราภาษีเป็น “0%” - ประเทศไทย: อยู่ระหว่างการดำเนินการออกประกาศลดภาษีสินค้าราว 6,600 รายการ จากสินค้าทั้งสิ้น 8,300 รายการ ให้มีอัตราภาษี เหลือร้อยละ 0 - ประเทศอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ: เนื่องจากได้ทยอยเข้าอาฟตาไม่พร้อมกัน จึงทำให้กำหนดการลดภาษีศุลกากรแตกต่างกันออกไป โดยเวียดนามลดภาษีเหลือร้อยละ 0-5 ในปี 2549 ลาวและพม่าภายในปี 2551 และกัมพูชาภายในปี 2553 ทั้ง 4 ประเทศจะมีอัตรา ภาษีเป็น 0% ในปี 2558
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEANEconomicCommunity:AEC) AEC เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม คุณลักษณะ วัตถุประสงค์ การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เพื่อเป็นภูมิภาคอาเซียนที่มั่นคง มั่งคั่งและมีความสามารถ ในการแข่งขันสูง ตามที่ผู้นำได้ แสดงเจตนารมย์ไว้ในแถลงการณ์ บาหลี ฉบับที่ 2 การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม (Priority Integration Sectors) • แนวทางการรวมกลุ่มแบบ sector-based approach • ระบุมาตรการสำคัญทั้งที่เป็นมาตรการร่วมและมาตรการเฉพาะของแต่ละสาขา ด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ให้มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรการผลิตได้ อย่างเสรี รวมทั้งส่งเสริมการ outsource ภายในภูมิภาค เพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันให้กับผู้ประกอบการในอาเซียน
แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ • การเร่งลดภาษีสินค้าใน 9 สาขาได้แก่ ผลิตภัณฑ์เกษตร/ ประมง/ ผลิตภัณฑ์ไม้/ ผลิตภัณฑ์ยาง/ สิ่งทอ/ ยานยนต์/ อิเล็กทรอนิกส์/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/สุขภาพ
แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ • ยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี (NTBs) : อาเซียนมีเป้าหมายสุดท้ายที่จะยกเลิก NTBs 3 ระยะ โดยแบ่งเป็น
แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ • ปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของอาเซียน • พิจารณาจัดทำกฎการได้แหล่งกำเนิดสินค้าแบบเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rule: PSR) ให้เป็น อีกทางเลือกหนึ่ง นอกเหนือจากกฎ Regional Value Content (RVC) 40% โดยมีแนวทางหลักๆ ดังนี้ 1. สินค้าที่ยังไม่เคยมี PSR ทั้งในกรอบ ASEAN FTA และกรอบ AFTA ให้ใช้ “กฎ RVC 40 หรือ CTH” 2. สินค้าที่มี PSR แล้วทั้งในกรอบ ASEAN FTA และกรอบ AFTA ให้ใช้ “กฎ PSR ที่ยืดหยุ่นมากกว่า” 3. สินค้าที่มี PSR ในกรอบ ASEAN FTA แต่ยังไม่มีใน AFTA ให้ “คณะทำงาน ROO เป็นผู้พิจารณาจัดทำกฎที่เหมาะสมขึ้น” • นอกจากปรับปรุงกฎ PSR แล้ว ให้พัฒนากฏ ROO ของอาเซียนให้ทันสมัย เช่น การออกแบบ Form D โดยทางอิเล็กทรอนิคส์ และการใช้กฏแหล่งกำเนิดสินค้าแบบสะสม เป็นต้น
แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ • การอำนวยความสะดวกด้านพิธีการศุลกากร - พัฒนาระบบ ASEAN Single Window - พัฒนาระบบพิกัดอัตราภาษีศุลกากรอาเซียน หรือ AHTN และ พิจารณาความเป็นไปได้ที่จะใช้ AHTN กับการค้านอกอาเซียนด้วย - ปรับปรุงระบบเอกสารที่เกี่ยวกับพิธีการศุลกากรให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน
พัฒนามาตรฐานและความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์พัฒนามาตรฐานและความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ - พัฒนาการยอมรับมาตรฐานซึ่งกันและกัน (MRA) ในด้านคุณภาพ สินค้าการตรวจสอบ การออกใบรับรอง - ปรับปรุงกฎเกณฑ์ / กฎระเบียบ / ข้อกำหนดสำหรับผลิตภัณฑ์ สาขาต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ
การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝีมือ และผู้มีความสามารถพิเศษ - การปรับประสานพิธีการตรวจลงตรา - การจัดทำ ASEAN Business Card - การเร่งพัฒนา มาตรฐานเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้ามา ประกอบวิชาชีพของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝีมือ และผู้มีความสามารถพิเศษภายในอาเซียน แผนการดำเนินงาน (Roadmap) ของ 9 สาขาสินค้าสำคัญ
การจัดทำแผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการจัดทำแผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน เป็นตลาดและ ฐานการผลิตร่วม เป็นภูมิภาคที่มี ขีดความสามารถ ในการแข่งขันสูง การพัฒนาทางเศรษฐกิจ อย่างเท่าเทียมกัน การเชื่อมโยงของอาเซียน เข้ากับเศรษฐกิจโลก แผนงานที่จะส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลด อุปสรรคในด้านต่างๆ แผนงานที่จะส่งขีดความ สามารถในด้านต่างๆ อาทิ นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ แผนงานที่จะส่งเสริมการ รวมกลุ่มของประเทศสมาชิก และลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่ แผนงานที่จะส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับประชาคมโลก โดยการปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาคและสร้าง เครือข่ายการผลิต/จำหน่าย
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เปิดเสรี การอำนวยความสะดวก - ลดอุปสรรคด้านภาษีและมาตรการที่มิใช่ภาษี เคลื่อนย้ายบริการเสรี การอำนวยความสะดวก เปิดเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี เปิดเสรี การอำนวยความสะดวก เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น การอำนวยความสะดวก เปิดเสรี - แลกเปลี่ยนข้อมูลและศึกษาผลกระทบ เคลื่อนย้ายแรงงานทักษะเสรี การอำนวยความสะดวก เปิดเสรี
การค้าระหว่างประเทศของไทยกับคู่ค้าสำคัญระหว่างปี 2536-2546 และ 2547-2549 ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ประเด็นพิจารณา การเปิดตลาดสินค้าของอาเซียน “มองเห็นสวรรค์รำไร หรือเป็นได้แค่เพียงภาพลวงตา”
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
โอกาสของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโอกาสของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ สร้างตลาดขนาดใหญ่ ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ เพิ่มอำนาจการต่อรอง - ประชากรกว่า 550 ล้านคน - ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ในภูมิภาค - สร้างความได้เปรียบในการ แข่งขัน - ส่งเสริม competitive advantage - การสร้างท่าทีร่วมในระดับ ภูมิภาค - สร้างความน่าสนใจและ ดึงดูดการค้า/การลงทุน - สร้างพันธมิตรร่วมในด้าน เศรษฐกิจทั้งในระดับภูมิภาค และอนุภูมิภาค การค้าของไทยกับอาเซียน ปี 2549 - ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง ของอาเซียน A S E A N กลุ่มที่มีความถนัด ด้านเทคโนโลยี Exp. ตลาดส่งออกอันดับ 1 มูลค่า 27,040 mil. US$ A S E A N WTO กลุ่มที่มีฐานการผลิต Regional Coop. Imp. แหล่นำเข้าลำดับสอง รองจากญี่ปุ่น มูลค่า 23,379 mil. US$ กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน FTA partners