200 likes | 400 Views
โรงพยาบาล ปลดหลอด. โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล. โรงพยาบาล “ ปลดหลอด ”. ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน. อาจารย์ที่ปรึกษา. นายธรรมรัตน์ รัตน นาวินกุล. เลขานุการ. รองประธาน. อ . อภิรักษ์ สกุล พงษ์. นายเอก วิทย์ ตันเกิด.
E N D
โรงพยาบาล ปลดหลอด โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน อาจารย์ที่ปรึกษา นายธรรมรัตน์ รัตนนาวินกุล เลขานุการ รองประธาน อ.อภิรักษ์ สกุลพงษ์ นายเอกวิทย์ ตันเกิด นส.ภาวะดี ณ นคร นายเสรี ปังหลีเส้น คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ฝ่ายธุรการและประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี ฝ่ายอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม นายพนมยงค์ ศรีพงศ์ นายวิชิต รัญดร นายสิริชัย สมชัยชนะ นายอลงกรณ์ บุญรักษ์ นายอาภรณ์ บุญช่วย
ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและใช้อย่างประหยัดพลังงานปี 2555 ต่ำกว่าปี 2554 ได้อย่างน้อย 5% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ 1. เผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาล กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.ปลดหลอด 2. 3. 4. 5.
ผังพื้นที่รับผิดชอบ NSO.
ผังพื้นที่รับผิดชอบ ORTHO.
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร จุดแข็ง มีการเก็บข้อมูลและปริมาณผลประหยัดและแจ้งให้ทราบโดยทั่วถึง จุดที่พัฒนาได้ ถ้าเป็นไปได้การเก็บข้อมูลและปริมาณผลประหยัดถ้าสามารถแยกออกเป็นหน่วยงานหรือตามอาคารได้ ก็จะเห็นจุดที่จะพัฒนาเพิ่มเติมได้อีก
นโยบายการจัดการพลังงานนโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวจ้อง 1. ระบบข้อมูลข่าวสาร มีการรายงานผลการดำเนินงานและแจ้งให้ทราบหลายช่องทางและโดยทั่วถึง การจัดการองค์กร มีการหมุนเวียนบุคลากรร่วมเป็น สส. พลังงาน โดยถูกกำหนดเป็นรุ่นต่างๆ ซึ่งทำให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ มีการประชุมเป็นรายเดือน/ สัปดาห์ และนำเอาปัญหาหรือข้อเสนอแนะต่างๆ เข้าหารือและแก้ไขร่วมกัน ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 2. 3. 4.
การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ทั่วถึงแทบทุกจุด และเนื้อหาก็เข้าใจง่ายและสามารถนำไปใช้ในบ้านเรือนได้ด้วย 5. การลงทุน มีการสนับสนุนการลงทุนค่อนข้างสูง โดยมีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 6.
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หม้อต้มน้ำปรับอุณหภูมิที่ 110 องศาฯ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 2400 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 6 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 2628 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1.ปรับอุณหภูมิที่ 100 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) 2. กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 2400 x 6 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 1576.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 2628 – 1576.8 = 1051.2 x 3.4 = 3574.08 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) 2. มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.4 = 2,382.72 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่ของมากเกินความจำเป็น 1 ตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 876 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. กำหนดรายการและชนิดสิ่งของที่ใช้แช่สูงสุดไว้ 2. ตั้งค่าความเย็นที่เหมาะสมกับสิ่งของที่แช่ในตู้เย็น (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) 3. เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 200 x 24 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 525.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 876 - 525.6 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : เปิดเครื่องปรับอากาศแล้วเปิดประตูทิ้งไว้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 90 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3153.6 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ติดตั้งโช๊คประตู (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 80 %) 2. รณรงค์เมื่อเปิดแอร์ต้องปิดประตูทุกครั้ง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3153.6 – 2803.2 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟฮาโลเจน ขนาด 50 watt พิกัดกำลังไฟฟ้า = 50 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 146 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. เปลี่ยนเป็นหลอดLED 5 watt (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 %) 2. เผยแพร่ข้อมูลของหลอดไฟฟ้า LED เทียบกับประเภทอื่น ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 5 x 8 x 1 x 365 ) / 1000 = 14.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 146 – 14.6 = 131.4 x 3.4 = 446.76 บาท/ปี
สำรวจความต้องการอุปกรณ์ทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกันสำรวจความต้องการอุปกรณ์ทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกัน 1 นำผลสำเร็จในการประหยัดพลังงานไปสู่การปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน 2 มาตรการอื่นๆ
การเลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานการเลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน นำเทคนิคการใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ ในการประหยัดพลังงาน รู้ถึงการกำกับติดตามการดำเนินการเพื่อให้การ ลดใช้พลังงานประสบผลสำเร็จ นำความรู้เรื่อง EMM ไปประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานในองค์กร เพื่อนำไปพัฒนา 1 3 4 5 การควบคุมระยะเวลาในการใช้ไฟฟ้าเพื่อการประหยัดพลังงาน 2 สิ่งที่ได้รับจากการอบรม
สมาชิกกลุ่มที่ 4 “โรงพยาบาลปลดหลอด” ขอขอบคุณ