620 likes | 1.25k Views
Financial Statement Analysis. K R Subramanyam John J Wild. Analyzing Financing Activities. 3. CHAPTER. Liabilities. Classification. Noncurrent (Long-Term) Liabilities. Current (short-term) Liabilities.
E N D
Financial Statement Analysis K R Subramanyam John J Wild
Analyzing Financing Activities 3 CHAPTER
Liabilities Classification Noncurrent (Long-Term) Liabilities Current (short-term) Liabilities Obligations whose settlement requires use of current assets or the incurrence of another current liability within one year or the operating cycle, whichever is longer. Obligations not payable within one year or the operating cycle, whichever is longer.
Liabilities Alternative Classification Obligations that arise from operating activities--examples are accounts payable, unearned revenue, advance payments, taxes payable, postretirement liabilities, and other accruals of operating expenses Operating Liabilities Obligations that arise from financing activities--examples are short- and long-term debt, bonds, notes, leases, and the current portion of long-term debt Financing Liabilities
Liabilities Important Features in Analyzing Liabilities • Terms of indebtedness(such as maturity, interest rate, payment pattern, and amount). • Restrictionson deploying resources and pursuing business activities. • Ability andflexibilityin pursuing further financing. • Obligations for working capital, debt to equity, and other financial figures. • Dilutive conversion featuresthat liabilities are subject to. • Prohibitionson disbursements such as dividends.
Leases Leasing Facts Lease – contractual agreement between a lessor (owner) and a lessee (user or renter) that gives the lessee the right to use an asset owned by the lessor for the lease term. MLP – minimum lease payments (MLP) of the lessee to the lessor according to the lease contract
Leases Lease Accounting and Reporting • Financial LeaseFor leases that transfer substantially all benefits and risks of ownership—accounted for as an asset acquisition and a liability incurrence by the lessee, and as a sale and financing transaction by the lessor • (2) Operating Lease For leases other than capital leases—the lessee (lessor) accounts for the minimum lease payment as a rental expense (income)
Leases Lease Accounting and Reporting Financial Lease A lessee classifies and accounts for a lease as a capital lease if, at its inception, the lease meets any of five criteria: 1. สัญญาเช่าโอนความเป็นเจ้าของในสินทรัพย์ให้แก่ผู้เช่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญาเช่า 2. ผู้เช่ามีสิทธิเลือกซื้อสินทรัพย์ด้วยราคาที่ต่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สิทธิเลือกเกิดขึ้น
Leases Lease Accounting and Reporting 3. ระยะเวลาของสัญญาเช่าครอบคลุมอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของสินทรัพย์ แม้ว่าจะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ 4. ณ วันเริ่มต้นของสัญญาเช่า มูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขึ้นต่ำที่ต้องจ่ายมีจำนวนเท่ากับหรือเกือบเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า 5. สินทรัพย์ที่เช่ามีลักษณะเฉพาะจนกระทั่งมีผู้เช่าเพียงผู้เดียวที่สามารถใช้สินทรัพย์นั้น
Leases Lease Accounting and Reporting • ข้อบ่งชี้ • หากผู้เช่าสามารถยกเลิกสัญญาเช่าได้ และผู้เช่าเป็นผู้รับผิดชอบผลเสียหายที่เกิดกับผู้ให้เช่าเนื่องจากการยกเลิกนั้น • ผู้เช่าเป็นผู้ที่ได้รับผลกำไรหรือผลขาดทุนจากการผันผวนของมูลค่ายุติธรรมของมูลค่าคงเหลือ • ผู้เช่าสามารถต่อสัญญาเช่าครั้งที่สองด้วยการจ่ายค่าเช่าที่มีจำนวนต่ำกว่าค่าเช่าในตลาดอย่างเป็นนัยสำคัญ
Leases Lease Accounting and Reporting • การเปิดเผยข้อมูล • มูลค่าสุทธิ ณ วันสิ้นรอบฯ • การกระทบยอด ณ วันสิ้นรอบฯ ระหว่างจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นกับมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้น และ
Leases Lease Accounting and Reporting การเปิดเผยข้อมูล 2 (ต่อ) จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้น และมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นสำหรับ - ระยะเวลาที่ไม่เกินหนึ่งปี - ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี - ระยะเวลาที่เกินห้าปี
Leases Lease Accounting and Reporting การเปิดเผยข้อมูล 3. ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนสำหรับงวด 4. จำนวนเงินขั้นต่ำทั้งสิ้นที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากการให้เช่าช่วงที่บอกเลิกไม่ได้ ณ วันสิ้นรอบฯ 5. คำอธิบายโดยทั่วไปของข้อตกลงตามสัญญา
Leases Lease Disclosure and Off-Balance-Sheet Financing Lease Disclosure Lessee must disclose: (1) future MLPs separately for capital leases and operating leases — for each of five succeeding years and the total amount thereafter, and (2) rental expense for each period on income statement is reported Off-Balance-Sheet Financing Off-Balance-Sheet financing is when a lessee structures a lease so it is accounted for as an operating lease when the economic characteristics of the lease are more in line with a capital lease—neither the leased asset nor its corresponding liability are recorded on the balance sheet
Leases Illustration
Leases Effects of Lease Accounting Impact of Operating Lease versus Capital Lease: • Operating lease understates liabilities—improves solvency ratios such as debt to equity • Operating lease understates assets—can improve return on investment ratios • Operating lease delays expense recognition—overstates income in early term of the lease and understates income later in lease term • Operating lease understates current liabilities by ignoring current portion of lease principal payment—inflates current ratio & other liquidity measures • Operating lease includes interest with lease rental (an operating expense)—understates both operating income and interest expense, inflates interest coverage ratios, understates operating cash flow, & overstates financing cash flow
Leases Converting Operating Leases to Capital Leases Determining the Present Value of Projected Operating Lease
Leases Restated Financial Statements after Converting Operating Leases to Capital Leases—Best Buy 2004
Recasting Best Buy’s Income Statement • Operating expenses decrease by $177 million (elimination of $454 million rent expense reported in 2004 and addition of $277 million of depreciation expense). • Interest expense increases by $193 million (to $201 million) • Net income decreases by $10 million [$16 million pretax x (1 - .35), the assumed marginal corporate tax rate] in 2004. • Recasting Best Buy’s Balance Sheet • The balance sheet impact is more substantial • Total assets and total liabilities both increase markedly—by $3.321billion at the end of 2004, which is the present value of the operating lease liability. • The increase in liabilities consists of increases in both current liabilities ($261 million) and noncurrent liabilities ($3.06 billion).
การใช้มาตรฐานการบัญชีในประเทศไทยการใช้มาตรฐานการบัญชีในประเทศไทย กิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณชน (PAEs) กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณชน (NPAEs) กิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณชน (PAEs) หมายถึง (อ้างอิงประกาศ FAP ฉบับที่ 62/2553) 1) บริษัทมหาชน 2) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ซื้อขายในตลาดสาธารณะ หรือ กิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการนำส่งงบการเงินให้แก่ SET เพื่อขายหลักทรัพย์ในตลาดสาธารณะ 3) กิจการที่มีการดูแลทรัพย์สินของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น ธนาคาร บริษัทประกัน 4) กิจการอื่นที่จะกำหนดเพิ่มเติม ใช้มาตรฐานการบัญชีสำหรับ PAEs (based on IFRS) ใช้มาตรฐานการบัญชีสำหรับ NPAEs
มาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง PAEs TAS 19 มาตรฐานฯ NPAEs บทที่ 16 ประมาณการหนี้สินฯ NPAEs TAS 19
การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชีการเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี เงินชดเชยตามกฎหมาย 10 เดือน • ใหม่ • บันทึกค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่มเข้างานจนถึง • เกษียณอายุ • ประมาณการใช้หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย • (จ้าง Actuary) เดิม บันทึกค่าใช้จ่ายเมื่อออก จากงานหรือเกษียณ หลักการเดิม Pay As You go หลักการใหม่ตาม IAS 19Actuarial Valuation ต้นทุนผลประโยชน์ ต้นทุนผลประโยชน์ No Cost
ประเภทของผลประโยชน์พนักงานตาม IAS 19 1 2 3 4 ผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นๆ ผลประโยชน์ ระยะสั้น ผลประโยชน์ เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ปีในงบการเงิน วันเริ่มงาน วันที่ใน งบการเงิน วันที่พ้นสภาพการเป็นพนักงานถูกเร่งให้เร็วขึ้น วันที่พ้นสภาพการเป็นพนักงาน
ประเภทผลประโยชน์ของพนังงานประเภทผลประโยชน์ของพนังงาน ผลประโยชน์ของพนักงานแบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน บำเหน็จ บำนาญ เงินชดเชยตามกฎหมายเมื่อเลิกจ้าง 2. ผลประโยชน์ระยะสั้น เงินเดือน กองทุนประกันสังคม ค่าที่พักอาศัย โบนัส ลาพักร้อน 3. ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ๆ ผลประโยชน์ที่ให้ตามระยะเวลาการทำงาน ได้แก่ การลาบวช ลาศึกษาต่อ ผลตอบแทนการทำงานเป็นเวลานาน 4. ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง
ผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงาน คำนิยาม • คือ ผลประโยชน์ของพนักงานซึ่งจะจ่ายเมื่อหรือหลังจากสิ้นสุดการจ้างงาน • โครงการผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงาน ข้อตกลงที่เป็น/ไม่เป็นทางการที่กิจการตกลงจ่ายผลประโยชน์หลังออกจากงานให้แก่พนักงานตั้งแต่ 1 รายขึ้นไป • ตัวอย่าง - ผลประโยชน์เมื่อพนักงานออกจากงาน เช่น บำเหน็จ เงินชดเชยตามกฎหมายเมื่อเลิกจ้าง - ผลประโยชน์อื่นๆ หลังออกจากงาน เช่น บำนาญ ค่าประกันชีวิตและค่ารักษาพยาบาล
โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.โครงการสมทบเงิน Defined Contribution Plans เช่น เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - อ้างอิงจำนวนที่จ่าย - กิจการจ่ายเงินสมทบที่แน่นอนให้หน่วยงานที่แยกต่างหากหรือกองทุน 2. โครงการผลประโยชน์ Defined Benefit Plans เช่น เงินชดเชยตามกฎหมาย บำเหน็จ บำนาญ ผลประโยชน์อื่นเมื่อเกษียณอายุ (ค่าเบี้ยประกันชีวิตและค่าพยาบาลหลังออกจากงาน) -อ้างอิงผลการปฏิบัติงาน
เปรียบเทียบประเภทของโครงการหลังออกจากงานเปรียบเทียบประเภทของโครงการหลังออกจากงาน
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการสมทบเงิน • การบันทึกบัญชีมีลักษณะตรงไปตรงมา เพราะภาระผูกพันของกิจการในแต่ละงวดถูกกำหนดโดยจำนวนที่สมทบในงวดนั้น • ไม่ต้องใช่สมมติฐานจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเพื่อกำหนดภาระผูกพันหรือค่าใช้จ่าย • ไม่เกิดกำไรขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย • ภาระผูกพันจะกำหนดตามหลักเกณฑ์โดยไม่ต้องคิดลด เว้นแต่ ครบกำหนดจ่ายเกินกว่า 12 เดือนหลังวันสิ้นงวดที่พนักงานให้บริการ
โครงการสมทบเงิน: การรับรู้รายการ ค่าใช้จ่าย = จำนวนเงินจ่ายสมทบหรือค้างจ่าย เดบิต เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ xx เครดิต เงินสด / เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพค้างจ่าย xx - หากเงินสมทบที่จ่ายแล้วสูงกว่าเงินสมทบที่ครบกำหนดจ่ายก่อนวันสิ้นงวดที่รายงาน กิจการต้องรับรู้ส่วนเกินนั้นเป็นสินทรัพย์ (ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า) เมื่อเงินที่จ่ายเกิน ทำให้อนาคตจ่ายเงินน้อยลงหรือได้เงินสดคืน • การเปิดเผยข้อมูล TAS 1 กำหนดเปิดเผยจำนวนเงินที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย TAS 24 กำหนดเปิดเผยผลประโยชน์ของผู้บริหารสำคัญ
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการผลประโยชน์ • การบันทึกบัญชีมีความซ้ำซ้อน • ต้องใช้สมมติฐานจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย เพื่อกำหนดมูลค่าภาระผูกพันและค่าใช้จ่าย • เกิดกำไรขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย • ต้องคิดลดภาระผูกพัน เพราะระยะเวลาจ่ายอาจเกิดหลังพนักงานให้บริการเสร็จแล้วหลายปี
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการผลประโยชน์ การบันทึกบัญชี มีขั้นตอนดังนี้ 1. ประมาณผลประโยชน์ที่พนักงานควรได้รับจากนายจ้าง โดยใช้เทคนิคการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Technique) • กำหนดจำนวนผลประโยชน์ของงวดก่อนและงวดปัจจุบัน • ทำประมาณการตามสมมติฐานจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย : ตัวแปรด้านประชากรศาสตร์ (เช่นอัตราการหมุนเวียนของพนักงานและอายุขัย) : ตัวแปรด้านการเงิน (เช่นเงินเดือนสุดท้ายและค่ารักษาพยาบาลที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต) ที่มีผลต่อต้นทุนของผลประโยชน์
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการผลประโยชน์ 2. คิดลดผลประโยชน์โดยใช้วิธีหน่วยที่คาดการณ์ไว้ (Projected Unit Credit Method) : เพื่อกำหนดมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์และต้นทุนบริการในปัจจุบันของพนักงาน 3. คำนวณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ของโครงการ 4. คำนวณกำไรขาดทุนจากการประมาณตามหลักประกันภัยที่เกิดขึ้นทั้งหมดและกำไรขาดทุนที่ต้องรับรู้เพิ่มเติม
แนวคิดการคำนวณผลประโยชน์อย่างง่ายแนวคิดการคำนวณผลประโยชน์อย่างง่าย จ้างงาน วันที่วัดมูลค่า วันที่เกษียณอายุ อายุ 30 ปี 48 ปี 49 ปี 60 ปี 18 ปี คำนวณผลประโยชน์การทำงาน 18 ปี 19 ปี ต้นทุนบริการปัจจุบัน / ต้นทุนดอกเบี้ย ความน่าจะเป็นที่จะได้รับผลประโยชน์ DBO คิดลด 12 ปี
ผลกระทบต่องบการเงิน หนี้สินเพิ่มขึ้น (Past service + Current service) กำไรสะสม (อาจติดลบ) (Past Service) Financial Position • กำไรขั้นต้น • กำไรสุทธิ • อาจกระทบกับการจ่ายปันผล • Cost of sale • Admin cost • ต้นทุนสินค้าคงเหลือ Income Statement
การวัดมูลค่าในงบแสดงฐานะการเงินการวัดมูลค่าในงบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ (DBO) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ (PA) / ต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ /()ผลขาดทุน (กำไร) จากการประมาณตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย ที่ยังไม่รับรู้ = สินทรัพย์สุทธิ หรือ หนี้สินสุทธิ
การวัดมูลค่าในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเตล็ดการวัดมูลค่าในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเตล็ด ต้นทุนบริการปัจจุบัน (Service cost) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (Interest cost) ผลตอบแทนที่คาดไว้ของสินทรัพย์ (Actual return on PA) ผลกำไร (ขาดทุน) จากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย (ถ้ามี) (Actuarial Gain or Loss) ต้นทุนบริการในอดีตที่รับรู้แล้ว (Prior service cost) /( ) / ต้นทุนผลประโยชน์สุทธิ (Net pension cost)
การแสดงรายการ • การหักกลบ • กิจการต้องหักกลบสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับหนึ่งโครงการกับหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับอีกโครงการเมื่อกิจการปฏิบัติดังนี้เท่านั้น • กิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะใช้ส่วนเกินดุลในโครงการหนึ่งไปชำระภาระผูกพันอีกโครงการหนึ่ง และ • มีเจตนาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะชำระภาระผูกพันตามที่แสดงเป็นยอดสุทธิ หรือรับรู้ส่วนเกินดุลในหนึ่งโครงการและชำระภาระผูกพันตามโครงการอื่นๆ ในเวลาเดียวกัน
Postretirement Benefits Analyzing Postretirement Benefits • Five-step procedure for analyzing postretirement benefits: • Determine and reconcile the reported and economic benefit cost and liability (or asset). • Make necessary adjustments to financial statements. • Evaluate actuarial assumptions (discount rate, expected return, growth rate) and their effects on financial statements. • Examine pension risk exposure (arises to the extent to which plan assets have a different risk profile than the pension obligation). • Consider the cash flow implications of postretirement • benefit plans.
Contingencies and Commitments Basics of Contingencies Contingencies -- potential losses and gains whose resolution depends on one or more future events. Contingent liabilities -- contingencies with potential claims on resources -- to record a contingent liability (and loss) two conditions must be met: (i) probable i.e. an asset will be impaired or a liability incurred, and (ii) the amount of loss is reasonably estimable; -- to disclose a contingent liability (and loss) there must be at least a reasonable possibility of incurrence Contingent assets -- contingencies with potential additions to resources -- a contingent asset (and gain) is not recorded until the contingency is resolved -- a contingent asset (and gain) can be disclosed if probability of realization is very high Contingencies should be . . .
Contingencies and Commitments Analyzing Contingencies Sources of useful information: Notes, MD&A, and Deferred Tax Disclosures Useful analyses: • Scrutinize management estimates • Analyze notes regarding contingencies, including Description of contingency and its degree of risk Amount at risk and how treated in assessing risk exposure Charges, if any, against income • Recognize a bias to not record or underestimate contingent liabilities • Beware of big baths — loss reserves are contingencies • Review SEC filings for details of loss reserves • Analyze deferred tax notes for undisclosed provisions for future losses Note: Loss reserves do not alter risk exposure, have no cash flow consequences, and do not provide insurance
Contingencies and Commitments Basics of Commitments Commitments -- potential claims against a company’s resources due to future performance under contract Analyzing Commitments Sources of useful information: Notes and MD&A and SEC Filings Useful analyses: • Scrutinize management communications and press releases • Analyze notes regarding commitments, including Description of commitment and its degree of risk Amount at risk and how treated in assessing risk exposure Contractual conditions and timing • Recognize a bias to not disclose commitments • Review SEC filings for details of commitments
Off-Balance-Sheet Financing Basics of Off-Balance-Sheet Financing Off-Balance-Sheet Financing is the non-recording of financing obligations Motivation To keep debt off the balance sheet—part of ever-changing landscape, where as one accounting requirement is brought in to better reflect obligations from a specific off-balance-sheet financing transaction, new and innovative means are devised to take its place Transactions sometimes used as off-balance-sheet financing: • Operating leases that are indistinguishable from capital leases • Through-put agreements, where a company agrees to run goods through a processing facility • Take-or-pay arrangements, where a company guarantees to pay for goods whether needed or not • Certain joint ventures and limited partnerships • Product financing arrangements, where a company sells and agrees to either repurchase inventory or guarantee a selling price • Sell receivables with recourse and record them as sales rather than liabilities • Sell receivables as backing for debt sold to the public • Outstanding loan commitments GAAP
Off-Balance-Sheet Financing Analysis of Off-Balance-Sheet Financing Sources of useful information: Notes and MD&A and SEC Filings Companies disclose the following info about financial instruments with off-balance-sheet risk of loss: • Face, contract, or principal amount • Terms of the instrument and info on its credit and market risk, cash requirements, and accounting Loss incurred if a party to the contract fails to perform • Collateral or other security, if any, for the amount at risk • Info about concentrations of credit risk from a counterparty or groups of counterparties Useful analyses: • Scrutinize management communications and press releases • Analyze notes about financing arrangements • Recognize a bias to not disclose financing obligations • Review SEC filings for details of financing arrangements
Off-Balance-Sheet Financing Illustration of SPE Transaction to Sell Accounts Receivable • A special purpose entity is formed by the sponsoring company and is capitalized with equity investment, some of which must be from independent third parties. • The SPE leverages this equity investment with borrowings from the credit markets and purchases earning assets from or for the sponsoring company. • The cash flow from the earning assets is used to repay the debt and provide a return to the equity investors.
Off-Balance-Sheet Financing Illustration of SPE Transaction to Sell Accounts Receivable
Off-Balance-Sheet Financing • Benefits of SPEs: • SPEs may provide a lower-cost financing alternative than borrowing from the credit markets directly. • Under present GAAP, so long as the SPE is properly structured, the SPE is accounted for as a separate entity, unconsolidated with the sponsoring company.
Shareholders’ Equity Basics of Equity Financing Equity — refers to owner (shareholder) financing; its usual characteristics include: • Reflects claims of owners (shareholders) on net assets • Equity holders usually subordinate to creditors • Variation across equity holders on seniority • Exposed to maximum risk and return Equity Analysis — involves analyzing equity characteristics, including: • Classifying and distinguishing different equity sources • Examining rights for equity classes and priorities in liquidation • Evaluating legal restrictions for equity distribution • Reviewing restrictions on retained earnings distribution • Assessing terms and provisions of potential equity issuances Equity Classes — two basic components: •Capital Stock •Retained Earnings
Shareholders’ Equity Reporting Capital Stock Sources of increases in capital stock outstanding: • Issuances of stock • Conversion of debentures and preferred stock • Issuances pursuant to stock dividends and splits • Issuances of stock in acquisitions and mergers • Issuances pursuant to stock options and warrants exercised Sources of decreases in capital stock outstanding: • Purchases and retirements of stock • Stock buybacks • Reverse stock splits
Shareholders’ Equity Components of Capital Stock Contributed (or Paid-In) Capital — total financing received from shareholders for capital shares; usually divided into two parts: • Common (or Preferred) Stock — financing equal to par or stated value;if stock is no-par, then equal to total financing • Contributed (or Paid-In) Capital in Excess of Par or Stated Value — financing in excess of any par or stated value • Treasury Stock (or buybacks) - shares of a company’s stock • reacquired after having been previously issued and fully paid for. • Reduces both assets and shareholders’ equity • contra-equity account (negative equity). • typically recorded at cost