820 likes | 973 Views
สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ Right to Know. สิทธิส่วนบุคคล Right of Privacy. กลไกตรวจสอบภาคประชาชนเพื่อความโปร่งใสภาครัฐ. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล. กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ และข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540.
E N D
สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการRight to Know สิทธิส่วนบุคคลRight of Privacy กลไกตรวจสอบภาคประชาชนเพื่อความโปร่งใสภาครัฐ การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ และข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ศุกร์11 ก.ย. 52 บริการปชช. เพื่อให้บรรลุตัวชี้วัด รู้ไปทำไม ใช้สิทธิตนเอง เข้าใจ ปฏิบัติได้ พรบ.ข้อมูล ราชการ โปร่งใส
S S S S S M M M M M A A A A A R R R R R T T T T T
กรณีอุทธรณ์ที่สำคัญๆ • กรณีขอดูเอกสารการสอบเข้าชั้นอนุบาลโรงเรียนสาธิต 3 แห่ง • กรณีขอดูสำนวนสอบสวนทุจริตยากระทรวงสาธารณสุข • กรณีตรวจสอบทุจริตโครงการอบรมสัมมนาของท้องถิ่น • กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐเบิกค่าใช้จ่ายอันเป็นเท็จ • กรณีนักศึกษาขอตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของอาจารย์มหาวิทยาลัย • กรณีเจ้าหน้าที่เลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการให้บริการตามหน้าที่ • กรณีหน่วยงานไม่รับเข้ารับราชการเพราะมีประวัติอาชญากรรม • กรณีนักโทษใช้สิทธิขอดูประวัติต้องขังของตนเอง
ลับ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการก่อน ปี 2540 “สิทธิรับรู้” มีอยู่อย่างจำกัด ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องการให้เปิดเผยปกปิดได้ง่าย ประชาชนไม่สามารถตรวจสอบการบริหารราชการได้ด้วยตนเอง
สภาพปัญหาของการบริหารภาคราชการสภาพปัญหาของการบริหารภาคราชการ ใช้อำนาจ หน้าที่ เกินขอบเขต / ตามอำเภอใจ มีปัญหาในการคุ้มครองสิทธิของประชาชน ไม่พอใจการตรวจสอบ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ทรัพยากรทางบริหาร ใช้อย่างสิ้นเปลือง และรั่วไหล โน้มเอียงทางเผด็จการ / อุปถัมภ์ / ถือพวกพ้อง แสวงประโยชน์ / ประพฤติมิชอบ / เลือกปฏิบัติ
แนวคิดพื้นฐานของสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ : การสร้างความโปร่งใสในภาครัฐ การจัดระบบข้อมูลข่าวสาร โดยเน้นหลักการเปิดเผย สิทธิรับรู้ กลไกสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน จำกัดการใช้อำนาจรัฐให้อยู่ในขอบเขตโดยชอบ เพิ่มกลไกการตรวจสอบโดยองค์กรภายนอก/ปชช. ป้องกันการทุจริต และสร้างสังคมประชาธิปไตย
แนวคิดพื้นฐานของสิทธิส่วนบุคคล:แนวคิดพื้นฐานของสิทธิส่วนบุคคล: • สิทธิส่วนบุคคล: Right of Privacy • ศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์ สิทธิในการมีชีวิตส่วนตัว • เป็นสิทธิของบุคคลที่จะอยู่โดยลำพัง (to be let alone) • สิทธิที่จะได้รับการปลดปล่อยจากสังคม แยกออกจากสังคม ออกจากการตรวจสอบ หรือรับรู้ ของสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิส่วนบุคคล กับ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • สิทธิส่วนบุคคล: Right of Privacy • ครอบคลุมถึงข้อมูลส่วนบุคคลโดยมุ่งหมายเพื่อการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว
ความเป็นมา:รัฐบาลที่เสนอให้มีการตรากฎหมาย ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการความเป็นมา:รัฐบาลที่เสนอให้มีการตรากฎหมาย ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๓๓ : พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ พ.ศ. ๒๕๓๔ : นายอานันท์ ปันยารชุน พ.ศ. ๒๕๓๕ : นายชวน หลีกภัย พ.ศ. ๒๕๓๘ : นายบรรหาร ศิลปอาชา พ.ศ. ๒๕๔๐ : พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ๑๐ ก.ย. ๒๕๔๐ มีผลบังคับใช้ ๙ ธ.ค. ๒๕๔๐
วัตถุประสงค์ของการยกร่างกฎหมายวัตถุประสงค์ของการยกร่างกฎหมาย • กำหนดให้ข้อมูลข่าวสารของราชการต้องเปิดเผย • - เพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชน • - การตรวจสอบการดำเนินการของรัฐด้วยตนเอง นอกเหนือจาก กลไกควบคุมหรือตรวจสอบตามวิถีทางการเมือง เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดทำ เก็บรักษาและวิธีการเปิดเผยข้อมูลประเภทต่างๆ เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ทั่วไปในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ผลการบังคับใช้กฎหมาย : เกิดกระบวนการคุ้มครองสิทธิ… • มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2540 • เป็นสิ่งจำเป็นในสังคมประชาธิปไตย • ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสังคมไทย • สิทธิได้รู้ หรือ สิทธิรับรู้ ข้อมูลข่าวสารของราชการ • สิทธิส่วนบุคคล : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิได้รู้ และสิทธิส่วนบุคคล • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 • พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • พรบ. จัดตั้งศาลปกครอง พ.ศ. 2542 • พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 • พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ • พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์แลวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ • มติ ครม. ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • บทบาทของ กพร. และ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ.
สิทธิได้รู้ และสิทธิส่วนบุคคลตามกฎหมายของประเทศไทย • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 • พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2552
การรับรอง“สิทธิได้รู้” ตามรัฐธรรมนูญ ม.56 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ม.57 สิทธิได้รับข้อมูล และคำชี้แจงจากหน่วยงานของรัฐ ม.58สิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาที่มี ผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของตน ม.60 มีสิทธิฟ้องหน่วยงาน ให้รับผิดกรณีกระทำ หรือละเว้นการกระทำของเจ้าหน้าที่
รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ม. 56บัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ การเปิดเผยข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชนหรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ม. 35 บัญญัติว่า “สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ”
ราชกิจจานุบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๙๙๙ ตอนพิเศษ ๙๙ ง วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ สิทธิได้รู้ตามกฎหมายของประเทศไทย พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ภาพรวมของ พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการฯ - หลักทั่วไป - หมวด 1 : ข้อมูลข่าวสารทั่วไป & การเปิดเผย - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 : คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล
หัวข้อสาระสำคัญ ๒ ๓ ๔ ๑ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ สาระสำคัญของกฎหมาย เกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใส ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI 22 22
หัวข้อสำคัญ ๑ สาระสำคัญของกฎหมาย
สาระสำคัญของ พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • เจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ของกฎหมาย • ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย • กระบวนการใช้สิทธิของประชาชน • องค์กร และกระบวนการคุ้มครองสิทธิ ตาม พรบ. ข้อมูลฯ • หลักการสำคัญของกฎหมาย • ประเภทของข้อมูลข่าวสารของราชการตาม พรบ. ข้อมูลฯ • สิทธิได้รู้ของประชาชนตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ • บทบัญญัติสำคัญที่ควรรู้ : หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
หลักการและเหตุผลของ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ในระบอบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมีโอกาสกว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่าง ๆ ของรัฐเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง อันเป็นการส่งเสริมให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากขึ้น สมควรกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ ทั้งนี้ เพื่อที่จะปกปักรักษาประโยชน์ของตนประการหนึ่ง กับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน
เจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ของกฎหมาย : • เจตนารมณ์ของกฎหมาย : • เพื่อที่ประชาชนมีโอกาสกว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆของรัฐ • เพื่อกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยมีข้อยกเว้นที่แจ้งชัด • เพื่อคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการ • เพื่อให้ระบบราชการมีความโปร่งใสตรวจสอบได้โดยประชาชนเอง
วัตถุประสงค์ของกฎหมาย : กำหนดสิทธิได้รู้ของประชาชนให้แจ้งชัด ระบบราชการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ป้องกันการทุจริต ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองสามารถคุ้มครองสิทธิของตน
กวฉ. ข้อมูลข่าวสารฯข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิของประชาชน หน่วยงานของรัฐ กขร. ขอบเขตบังคับตามกฎหมาย เจ้าหน้าที่ของรัฐ องค์กรตามกฎหมาย หน้าที่ตามกฎหมาย ขอบเขตบังคับ
กระบวนการใช้สิทธิของประชาชนกระบวนการใช้สิทธิของประชาชน • สิทธิได้รู้ • ได้รู้โดยหน่วยงานการเปิดเผย • ได้รู้โดยเข้าตรวจดู • ไดรู้โดยการยื่นคำขอ • สิทธิอุทธรณ์ • คำสั่งมิให้เปิดเผย • คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านการเปิดเผย • คำสั่งไม่แก้ไขข้อมูลข่าวสรส่วนบุคคล • สิทธิร้องเรียน • กรณีไม่จัดหาข้อมูล • ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย • ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า หรือไม่อำนวยความสะดวก ฯลฯ
กขร. สขร. กวฉ. องค์กร และกระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน • คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. • สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. • คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร. องค์กรคุ้มครองสิทธิรับรู้ของประชาชน
กวฉ. กขร. สขร. องค์กรตามกฎหมาย • ที่มา • องค์ประกอบ • อำนาจหน้าที่ • สถานะ • ปัญหา องค์กรตามกฎหมาย
คณะกรรมการ วินิจฉัย หน่วยงาน ของรัฐ ความสัมพันธ์ของกลไกต่าง ๆ สำนักงาน สขร. คณะกรรมการ ฯ ส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น ประชาชน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระ
กระบวนการคุ้มครองสิทธิฯกระบวนการคุ้มครองสิทธิฯ 33 33
ประชาชนใช้สิทธิได้รู้ โดย ม. 7 ตรวจค้นในราชกิจจาฯ ม. 9 ตรวจดูในศูนย์ข้อมูลฯ ม.11 ยื่นคำขอดูข้อมูล ม 25 ยื่นคำขอดูข้อมูลบุคคล ม. 26 ขอค้นคว้าประวิติศาสตร์ ประชาชนใช้สิทธิได้รู้ โดย ม. 7 ตรวจค้นในราชกิจจาฯ ม. 9 ตรวจดูในศูนย์ข้อมูลฯ ม.11 ยื่นคำขอดูข้อมูล ม 25 ยื่นคำขอดูข้อมูลบุคคล ม. 26 ขอค้นคว้าประวิติศาสตร์ • ประชาชนใช้สิทธิร้องเรียน • - กรณีไม่ลงพิมพม์ ม.7 • - กรณีไม่จัดข้อมูลตาม ม. 9 • - กรณีฝ่าฝืน พรบ. ข้อมูลฯ • กรณีล่าช้า หรือไม่สะดวก • กรณี หน่วยงานว่าไม่มีข้อมูล • ประชาชนใช้สิทธิอุทธรณ์ • - กรณีมีคำสั่งไม่เปิดเผย • - กรณีไม่รับฟังคำคัดค้าน • กรณีไม่แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล กขร. 1 2 หน่วยงานของรัฐ กวฉ. การใช้สิทธิร้องเรียน การใช้สิทธิอุทธรณ์ การใช้สิทธิได้รู้ พิจารณา ให้ความเห็น ลงราชกิจจาฯ / ให้ตรวจดู /จัดหาให้ / ปฏิเสธตาม ม. 15 พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ม. 13 , 28 (4), 33 ม. 18 , 35 ศาลปกครอง 3 4
--ฟ้องศาล ศาลปกครอง กระบวนการคุ้มครองสิทธิรับรู้ ใช้สิทธิได้รู้ ตาม รธน. และ พรบ.ข้อมูลฯ - วินิจฉัย - กม. ถือเป็นที่สุด ใช้สิทธิรับรู้ ยื่นคำขอ /ตรวจดู การคุ้มครอง เยียวยาตาม กม. การพิจารณาของ จนท. ชั้นต้น กขร. หรือ กวฉ. -- จัดหาให้ -- เปิดเผย เข้าสู่กระบวนการเยียวยา มิให้เปิดเผย ใช้สิทธิ ร้องเรียน หรืออุทธรณ์
หลักการสำคัญของกฎหมายหลักการสำคัญของกฎหมาย 36 36
หลักปรัชญาแห่งกฎหมาย “รัฐรู้อะไร ประชาชนต้องรู้ในสิ่งนั้น ” ภายใต้สิทธิเสรีภาพตามขอบเขตของ กม. โดยให้องค์กรปชช. มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร “สิทธิส่วนบุคคล จะถูกละเมิดไม่ได้ ”
หลักการสำคัญของกฎหมายหลักการสำคัญของกฎหมาย ข้อมูลข่าวสารของราชการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล การเปิดเผยต้องได้รับความยินยอม จากเจ้าของข้อมูลเป็นหนังสือ
หลักการของกฎหมาย . เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น +ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล / “สิทธิรับรู้”ผู้ขอไม่ต้องมีส่วนได้เสีย . คำสั่งไม่เปิดเผยต้องชอบด้วย กม.& มี เหตุผล . ให้ผู้มีประโยชน์ได้เสียคัดค้านการเปิดเผยได้
ประเภทของข้อมูลข่าวสารประเภทของข้อมูลข่าวสาร 40 40
ประเภทข้อมูลข่าวสารของราชการประเภทข้อมูลข่าวสารของราชการ ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ไม่ต้องเปิดเผย 14 15 16 17 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล 25 7 9 11 เอกสารประวัติศาสตร์ 26
วิธีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารแต่ละประเภทวิธีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารแต่ละประเภท • ตามมาตรา 7 : ตรวจค้นในราชกิจานุเบกษา • ตามมาตรา 9 : ตรวจดูในศูนย์ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน • ตามมาตรา 11 : ยื่นคำขอดูต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ • ตามมาตรา 25 : ยื่นคำขอเป็นหนังสือต่อผู้ครอบครอง • ตามมาตรา 26 : เข้าศึกษาค้นคว้าที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
หัวข้อ สิทธิได้รู้ของประชาชน 43 43
สิทธิได้รู้: จำแนกได้ ดังนี้ สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารตาม ม. 7 สิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารตาม ม. 9 สิทธิขอดูข้อมูลข่าวสารตาม ม. 11 สิทธิได้รู้ข้อมูลส่วนบุคคลของตน ม. 25 สิทธิได้รู้โดยการค้นคว้าข้อมูลประวัติศาสตร์ ม. 26
หัวข้อ หน้าที่ของหน่วยงาน 45 45
9 มาตราสำคัญ เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา26 มาตรา 7 มาตรา25 มาตรา 9 ข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 11 ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร มาตรา 14 ลับ มาตรา 15 มาตรา 16 มาตรา 17
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร มาตรา 7: เปิดเผยโดยลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ข้อมูล 5 รายการ มาตรา 8: ถ้าไม่ลงพิมพ์ฯ จะนำไปบังคับใช้ในทางไม่เป็นคุณไม่ได้ มาตรา 9: เปิดเผยโดยตั้งแสดงในศูนย์ข้อมูลข่าวสารข้อมูล 8 รายการ มาตรา 10: เปิดเผยโดยวิธีอื่น เพราะกฎหมายอื่นกำหนดให้ทำได้ มาตรา 11: เปิดเผยโดยการจัดหาข้อมูลข่าวสารให้ตามคำขอ มาตรา 15:เปิดเผยโดยการใช้ดุลพินิจตามหลักเกณฑ์ มาตรา 25: เปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลให้เจ้าของข้อมูลได้รู้ มาตรา 26: เปิดเผยเพราะถึงเวลาเป็นเอกสารประวัติศาสตร์
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ราชกิจจานุบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๙๙๙ ตอนพิเศษ ๙๙ ง วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ มาตรา 7 : ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 7หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (1)โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน (2)สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีการดำเนินงาน (3)สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคำแนะนำในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ (4)กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง (5)ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด
ราชกิจจานุบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๙๙๙ ตอนพิเศษ ๙๙ ง วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ มาตรา 7 : ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 7วรรคสอง และสาม ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจำนวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้นก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่เพื่อขายหรือจำหน่วยจ่ายแจก ณ ที่ทำการของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นตามที่เห็นสมควร