100 likes | 166 Views
สรุปการฝึกอบรม. วันแรก แรงบันดาลใจ ความคาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์แรงงานจากวิกฤติเศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง ประวัติศาสตร์แรงงานไทย วันที่สอง ฝึกปฎิบัติรับเรื่องราวร้องทุกข์ ทักษะเพิ่มเติมและศูนย์ที่อยากเห็น. ความคาดหวัง.
E N D
สรุปการฝึกอบรม วันแรก • แรงบันดาลใจ ความคาดหวัง • วิเคราะห์สถานการณ์แรงงานจากวิกฤติเศรษฐกิจ • กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง • ประวัติศาสตร์แรงงานไทย วันที่สอง • ฝึกปฎิบัติรับเรื่องราวร้องทุกข์ • ทักษะเพิ่มเติมและศูนย์ที่อยากเห็น
ความคาดหวัง • นำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้ไปต่อยอด พัฒนา ไปปฎิบัติการจริง ทั้งในการทำงานช่วยเหลือแรงงาน และครอบครัว • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ /ได้เรียนรู้ ความรู้ใหม่/เข้าใจปัญหาแรงงานทั้งในและนอกระบบ • ทำให้องค์กรเข้มแข็ง/ศูนย์เติบโต/ทำงานเป็นระบบ/ทีม • ได้เพื่อนใหม่และเครือข่าย • รับรู้เรื่องศูนย์ฯ • กม.คุ้มครองแรงงานนอกระบบ
ภาพรวม • การพัฒนากระแสโลกาภิวัตน์ ทุนนิยมเสรี การแข่งขัน ใช้ ตัวเงินเป็นตัวชี้วัดการเติบโคของประเทศ GDP ขาดมิติมุมมองด้านธรรมาภิบาล สังตมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม • ตัวละครที่สำคัญ คือ ทุน เคลื่อนย้ายโดยเสรี เพื่อหาแหล่งที่ตนทำกำไรให้มากที่สุด ลดต้นทุนการผลิต -แรงงานคุณภาพ ราคาต่ำ -นโยบายที่เอื้อประโยชน์ให้ทุน ได้สิทธิพิเศษต่างๆ ไม่จ่ายภาษี ลงทุนในเขตการค้าเสรีที่ปลอดสหภาพแรงงาน -มีสาธารณูปโภค ระบบการขนส่ง ถนนหนทางที่เอื้ออำนวย • บรรษัทข้ามชาติเข้ามีอำนาจในการกำหนดทิศทางการพัฒนาโลก นโยบายการค้าเสรี เปิดให้มีการแข่งขันกันสูง ลดกำแพงภาษี • ทุนเข้ามาในประเทศ ....มีอำนาจในการกำหนดนโยบายรัฐให้เอื้อต่อทุน
ทุน+รัฐ นโยบายรัฐในการพัฒนาประเทศ • การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมการผลิต การเกษตร • แปรรูปรัฐวิสาหกิจ • รัฐใช้ GDP เป็นตัวชี้วัดการเจริญเติบโตของประเทศ • ออกกฎหมายที่เอื้อต่อทุน เช่น ม. 75 • รัฐมีนโยบายที่ควบคุมสหภาพแรงงงาน ให้อยู่ในโอวาท โดยใช้กฎหมายควบคุม • กระบวนการยุติธรรมที่ไม่เอื้อ ใช้เวลานาน ไม่มีกลไกช่วยเหลือ • -ระบบการศึกษามุ่งผลิตคนเพื่อรับใช้ทุน
ปัญหาสำคัญที่คนงานประสบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจปัญหาสำคัญที่คนงานประสบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจ • เลิกจ้างคนงาน -ลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้ได้ผลกำไรมากที่สุด -ทำลายสหภาพแรงงงาน เพื่อลดอำนาจการต่อรองลูกจ้าง “วิกฤติเศรษฐกิจนายจ้างเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส”“วิกฤติจริง หรือเอาวิกฤติมาเป็นข้ออ้าง มาเป็นเครื่องมือ”
รากเหง้าปัญหา -ทุน ต้องการทำผลกำไร ลดตั้นทุนการผลิต ทำลายสหภาพแรงงาน -รัฐ กลไกเอื้อต่อทุน แทนที่จะปกป้องสิทธิแรงงาน (กระบวนการยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กฎหมาย)
ผลกระทบต่อคนงาน • คนงาน (จิตใจ เครียด), ร่างกาย โรคเกิดจากการทำงาน • ผลต่อปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต • ผลกระทบต่อครอบครัว ชีวิตความเป็นอยู่ ครอบครัวแตกแยก • ผลกระทบต่อสังคม (ปัญหาสังคม เช่นอาชญากร ครอบครัวแตกแยก • ผลกระทบขบวนการแรงงาน/ขบวนประชาชน
แนวทางการแก้ไขปัญหา เราสู้กับรัฐและทุน • สหภาพแรงงาน (ยื่นข้อเรียกร้อง, เจรจาต่อรอง, กดดัน, เดินขบวน, นัดหยุดงาน) • กลไกรัฐในระดับประเทศ -กระบวนการยุติธรรม (ศาล) มาตรการทางกฎหมาย -กรรมการสิทธิมนุษยชน -กรรมาธิการแรงงงาน สภาผู้แทนราษฎร • กลไกระหว่างประเทศ -องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) -เครือข่ายแรงงานระหว่างประเทศช่วยในการกดดัน
ประเด็นท้าทาย • แก้ไขปัญหาแรงงานที่ประสบปัญหาได้อย่างไร จะแก้ไขปัญหาที่รากเหง้าได้อย่างไร (รัฐ และทุน) • จะสร้างอาสาสมัคร อสส และ อสร ที่มีทั้งหัวใจ ความรู้ ทักษะได้อย่างไร เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาแรงงงาน • ศูนย์ช่วยเหลือจัดการแรงงานในภาวะวิกฤติจะยั่งยืนได้อย่างไร • แรงงงานไม่แบ่งแยก เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (แรงงานในและนอกระบบ แรงงงานข้ามชาติ) ขบวนการแรงงานไม่เข้มแข็ง • “เราพึ่งใครไม่ได้ นอกจากขบวนการแรงงาน”
รัฐมีหน้าที่โดยตรงในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตให้กับคนงานรัฐมีหน้าที่โดยตรงในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตให้กับคนงาน หลายรายเหนื่อย ท้อแท้ ยอมจำนน ยังมีคนงานจำนวนมากที่สู้เพื่อสิทธิของตนเอง และเพื่อขบวนการแรงงานโดยส่วนรวม “สิทธิแรงงานและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์”