350 likes | 453 Views
ผลการศึกษาขั้นต้น ภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข นำเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการศึกษาภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ
E N D
ผลการศึกษาขั้นต้นภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข นำเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการศึกษาภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ และการลงทุนด้านสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 11 สิงหาคม 2551 ณ ห้องประชุม Sapphire โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
หัวข้อในการนำเสนอ • วัตถุประสงค์ของการศึกษา • ภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญในประเทศไทย • การสูญเสียผลิตภาพ (productivity loss) จากภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง 10 อันดับแรก • การลงทุนของภาครัฐกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • มาตรการด้านสุขภาพสำหรับภาระโรคที่สำคัญในประเทศไทย • การดำเนินการในช่วงต่อไปของการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อทบทวนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การตรวจคัดกรองผู้ป่วยระยะแรก การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เกี่ยวข้องกับภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกของประเทศไทย • เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพของภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกกับข้อเสนอแนะใน Disease Control Priorities in Developing Countries – 2nd edition • จัดทำข้อเสนอแนะในลักษณะกรอบและแผนการลงทุนด้านสุขภาพในแผนฯ 10 (พ.ศ. 2550-2554) รวมทั้งประมาณการความต้องการงบประมาณในระยะกลาง
10 อันดับแรกของกลุ่มโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (DALY)ในประชากรไทย พ.ศ. 2547 % of Total 52.6 42.8 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547
จำนวนปีที่สูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยตามกลุ่มของสาเหตุระหว่างพ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2547 เพศหญิง เพศชาย
จำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรค พ.ศ. 2542 และ 2547จำแนกตามกลุ่มอายุ เพศชาย เพศหญิง
ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรคในประชากรไทย พ.ศ. 2542 และ 2547 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547
แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทยแหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549
ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปแหล่งข้อมูลสอส. 2544, 2546, 2549
ข้อค้นพบจากการศึกษาภาระโรคข้อค้นพบจากการศึกษาภาระโรค • เมื่อจำแนกตามกลุ่มสาเหตุ ภาระโรคที่เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูญเสียเพิ่มขึ้นทั้งในเพศชายและเพศหญิง ขณะที่กลุ่มโรคติดต่อมีการสูญเสียปีสุขภาวะลดลง • การสูญเสียปีสุขภาวะลดลงในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี แต่เพิ่มขึ้นในกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป • การสูญเสียปีสุขภาวะจาก unsafe sex และยาเสพติดลดลงในปี 2547 ในขณะที่การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบริโภคแอลกอฮอล์และยาสูบ การไม่สวมหมวกกันน็อค และความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น • แนวโน้มการสูบบุหรี่ของประชากรไทยลดลงแต่การดื่มสุราเป็นประจำกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยและมีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า
ผลการศึกษา Productivity loss 12 BOD การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควรและการเจ็บป่วยเนื่องจาก 12 ภาระโรคในปี 2548 Total productivity loss from 12 BOD = 71,440million baht ~ 1%ofGDP in2548 Note: GDP in 2548 = 7,104,228 million baht
ภาระโรค 3 อันดับแรกที่มีความสูญเสียสูงสุดในประเทศไทย หมายเหตุ เป็นข้อมูล 2548 ยกเว้น DALY loss เป็นข้อมูลปี 2547 • อุบัติเหตุจราจร และ HIV/AIDS ก่อให้เกิดความเสียหายทั้ง 4 มิติ • เบาหวาน โรคหัวใจหลอดเลือด เกิดความสูญเสีย ใน 2 มิติ • ดังนั้นการปรับทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพในประเทศไทย ควรจะให้ความสำคัญของการลดภาระโรค ในตารางด้านบน
Health care expenditure in Thailand by function in 2001 and 2005
Household consumption: tobacco, alcohol and healthMedian household expenditure per month Sources: Analyses from 2006 SES
2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo ตารางที่ 23 รายจ่ายสุขภาพในแต่ละประเภทกิจกรรมในปี 2550-2554 ตาม status quo (หน่วย: ล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo รูปที่ 6สัดส่วนรายจ่ายกิจกรรมสุขภาพตาม status quo ปี 2550-2554 Status quo: • P&P = 5-6% of total recurrent health expenditure • Proportion of P&P is decreasing over the time (2550-2544)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 1 ตารางที่ 24 รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 ตาม scenario 1 (หน่วย: ล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 2 ตารางที่ 25 รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 ตาม scenario 2 (หน่วย: ล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 3 ตารางที่ 26รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 ตาม scenario 3 (หน่วย: ล้านบาท)
MTEF – ผลการศึกษา, the most possible scenario • คำนึงถึงความสามารถในการจ่ายของรัฐ และ การใช้เงินที่เพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ • Scenario 2 และ 3 มีผลให้ P&P เพิ่มขึ้นอย่างมากหลายเท่าตัว ในปี 2554 น่าจะมีความเป็นไปได้น้อยเมื่อเทียบกับ Scenario 1 (Scenario 2 เพิ่ม 7 หมื่นล้าน และ Scenario 3 เพิ่ม 1 แสนล้าน) • Scenario ที่มีความน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ scenario 1(เพิ่มรายจ่ายสุขภาพ P&Pเป็นสองเท่า ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป)
Disease Control Priorities in Developing Countries 2006 (second ed) – DCP2 • เป็นการทบทวนระบบโลกเกี่ยวกับการควบคุมโรคต่างๆ ที่มีลำดับความสำคัญสูงในประเทศกำลังพัฒนา • รวบรวม cost-effectiveness interventions ใน 4กลุ่มสภาวะ • Infectious disease, reproductive health, and under-nutrition • Non-communicable disease and injury • Risk factors • Consequences of disease and injury • นอกจากนี้ ยังมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพและการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมและป้องกันโรคที่มีลำดับความสำคัญ http://www.dcp2.org/pubs/DCP
สถานการณ์และมาตรการด้านสุขภาพเกี่ยวกับ HIV/AIDS • ค่าใช้จ่ายสำหรับ HIV/AIDS ของประเทศไทยประมาณร้อยละ 83 มาจากทรัพยากรภายในประเทศ แต่ส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อการรักษาพยาบาล • ปัญหาความไม่ครอบคลุมของการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มเสี่ยง • การไม่สามารถเข้าถึงถุงยางอนามัยของหญิงบริการ • การสนับสนุนถุงยางอนามัยจากส่วนกลางลดลง • การขายบริการทางเพศแบบทางอ้อม • เน้นกลุ่มนักเรียนและวัยรุ่นซึ่งกลายเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง • การมีพฤติกรรม unsafe sex • ขาดความรู้และเริ่มมีเพศสัมพันธ์ในขณะที่มีอายุน้อย • ความยากลำบากในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • ขยายการให้ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาผ่านสื่อมวลชน • การให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองในประชากรทั่วไป • การให้บริการตรวจคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย • ปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผล
5 การโฆษณา การกระจายและการจัดจำหน่าย การผลิต Production การบริโภค ปัญหา Production 2 1 3 4 3 4 ขั้นตอนการซื้อ 2 6 7 7 On-premise 6 2 3 Off-premise มาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์จำแนกตามระยะของการก่อปัญหา หมายเหตุ มาตรการทางภาษีและราคา การควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดัดแปลงสถานการณ์และบริบทของการดื่ม มาตรการจัดการกับการขับขี่ยานพาหนะภายใต้อิทธิพลของแอลกอฮอล์ การควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการสุขศึกษาและการโน้มน้าว มาตรการการบำบัดรักษาและการคัดกรอง
เป้าหมายหลักของมาตรการเป้าหมายหลักของมาตรการ ทำให้การบริโภคเป็นเรื่องยากขึ้น เพิ่มแรงต้านต่อการบริโภค การลดการบริโภค (ประชากรทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง) [การป้องกันระดับปฐมภูมิ] อุปทาน อุปสงค์ 1. ภาษีและราคา 5. ควบคุมการโฆษณา 2. ควบคุมการเข้าถึง 6. ให้สุขศึกษาและโน้มน้าว มาตรการ การฟื้นฟู จัดการกับความเสี่ยงปัญหา 3. สถานการณ์และบริบทของการบริโภค 7. การบำบัดรักษาและคัดกรอง 4. การขับขี่ขณะมึนเมา ทำให้การบริโภคปลอดภัยขึ้น ฟื้นฟูและจำกัดขนาดของปัญหา มาตรการที่ประเทศไทยควรดำเนินการ – แอลกอฮอล์ การป้องกันปัญหาโดยตรงและการแก้ไขปัญหา (กลุ่มผู้บริโภค และผู้ประสบปัญหา) [การป้องกันระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ]
ประสิทธิผลการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดสูงในประเทศไทย ที่มา การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3เฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 15 ปี
การดำเนินการในช่วงต่อไปของการศึกษาการดำเนินการในช่วงต่อไปของการศึกษา • ประเมินประสิทธิภาพของ interventions เกี่ยวกับภาระโรคที่สำคัญ • HIV/AIDS • Road traffic injuries • Cardio-vascular disease and diabetes • Overweight and obesity • Alcohol and tobacco consumption • Multi-stakeholder consultation • Mobilize more resources for P&P activities from inside and outside health sector, • Scaling up effective health interventions for big burden of disease and address social determinants of health, • Investment in health in the 10th National Development Plan and implementation.
กิตติกรรมประกาศ • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • กระทรวงสาธารณสุข • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) • สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) • แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยCVD and obesity(1) • Comprehensive risk reduction ในระดับประชากร เพื่อลด health risks ในหลายกลุ่มโรคพร้อมๆ กัน เช่น DM, stroke, HT, obesity เป็นต้น • ปัญหาเรื่อง implementation and administration • การขาดการประสานงาน ไม่มีเจ้าภาพหลัก/เจ้าภาพรอง • การประสานงานเป็นลักษณะ ad hoc ไม่ regular • บางครั้ง policy มีความขัดแย้งกันเองระหว่างกรมฯ • ไม่ควรมองเฉพาะว่ามีหรือไม่มี intervention แต่ควรดูเรื่อง how to scaling up ด้วย • มาตรการควรมีทั้งด้าน supply and demand side เช่น การให้ความรู้กับประชาชน และการสร้างความเข้มแข็ง • ต้องคิดเชิงระบบในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกายในวิถีชีวิตของผู้คน
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยCVD and obesity(2) • มาตรการอาจอยู่นอกเหนือระบบบริการสุขภาพ โดยอาจมาจากพื้นที่และควรเป็นองค์ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย • Policy บางอย่างโดยเฉพาะ non-health policy อาจได้ผลกับ health risk หลายอย่าง ต้องมีการวิเคราะห์ให้ดี เช่น • public transport หรือการสร้าง bicycle lane • การลดความแออัดของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ • นโยบายเหล่านี้ต้องการ overarching public policies ที่ชัดเจน • Health care financing source บางครั้งไม่ได้มาจากแหล่งเดียว • การให้ความรู้ด้านสุขภาพขณะนี้ขาดตอน หยุดอยู่เพียงแค่ระดับโรงเรียน
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยCVD and obesity(3) • การวิจัยรูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มอายุต่างๆ เช่น ผู้สูงอายุ • อาจจำเป็นต้องมีนโยบายมาตรการทางภาษีหรือ incentives • ผลิต healthy products หรือ healthy food • การออกแบบอาคารหรือสิ่งแวดล้อมเพื่อการออกกำลังกาย • การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและระดับตัวบุคคล รวมทั้ง • การให้ความสำคัญต่อการพัฒนา primary care
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยalcohol & tobacco(1) • นโยบายแอลกอฮอล์มีวิกฤติของสถานการณ์ทางกฎหมายและการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ • นอกจากการรณรงค์ ต้องมีการบังคับใช้ พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 • การต่อสู้กับผลประโยชน์ของผู้ประกอบการ • การรับรู้และยอมรับของสังคมต่อการควบคุมแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้น • ประสิทธิภาพของมาตรการในการควบคุมการโฆษณาเรื่องแอลกอฮอล์
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยalcohol & tobacco(2) • เสนอให้ใช้มาตรการทางด้านวัฒนธรรมและศาสนากับเรื่องแอลกอฮอล์ เพื่อเปลี่ยนแปลงค่านิยมและบรรทัดฐานในสังคม • มาตรการสุขศึกษาและการโน้มน้าว นอกจากใช้ในโรงเรียนและสถานศึกษาแล้ว ควรทำร่วมกับสังคมทั้งระบบ โดยเน้นการใช้สื่อที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย • การทำบัญชีรายจ่ายครัวเรือน • มาตรการอื่นๆ • ปรับลดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดขณะขับขี่จาก 50 mg% เป็น 20 mg% • ลดการเข้าถึงแอลกอฮอล์โดยจำกัดของเขตในการขายและการโฆษณา • เน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยroad traffic injuries(1) • มาตรการ 5E + 1E • Enforcement – ปัญหาเรื่องกฎหมายยังไม่เอื้อ โครงสร้างของตำรวจ • Engineering – ใช้มาตรการ social sanction มาตรการของชุมชน การตรวจสภาพรถยนต์ โดยเฉพาะระบบเบรค,public transport • Education - • Evaluation - • EMS - ไม่มีข้อเสนอเท่าที่ควร • Empowering – public-private mix, social sanction
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยHIV/AIDS(1)ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยHIV/AIDS(1) • ความขัดแย้งเรื่องความเพียงพอของงบประมาณระหว่างกรมควบคุมโรค กับ สปสช. • งบประมาณด้านการป้องกันโรคถูกจัดสรรลงไปที่ระดับพื้นที่เป็น area-based PP budget • การแก้ไขกฏหมายของประกันสังคมในการทำงาน P&P • เรื่องพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชน • การรณรงค์ผ่านสื่อมวลชน • ยึดหัวหาดในโรงเรียน • รณรงค์เชิงรุกเรื่อง Voluntary confidential counseling testing (VCCT)
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยHIV/AIDS(2)ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยHIV/AIDS(2) • การรักษาทำได้ค่อนข้างดี แต่ควรรณรงค์เพิ่ม coverage of VCT โดยเฉพาะสามีของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ • ผู้มีอาชีพพิเศษที่เป็นอาชีพเสริม • กลุ่มใช้ยาเสพติดชนิดฉีด - เรื่องการเข้าถึงเข็มฉีดยาที่ปลอดภัย • กลุ่มชายรักชาย (MSM) กลุ่มชาติพันธุ์และกลุ่มผู้อพยพเคลื่อนย้ายที่ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ • มองประเด็นเรื่องสังคมและองค์รวม