370 likes | 609 Views
การวิเคราะห์งบประมาณต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ. กลุ่มวิจัยและประเมินผล สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 12. สถานภาพเศรษฐกิจประเทศไทย. ปัญหาข้อเท็จจริง ความเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีผลต่อระบบสวัสดิการสังคม การขาดการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในระยะยาว ปัญหาความเหลื่อมล้ำรายได้ของประชาชน
E N D
การวิเคราะห์งบประมาณต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจการวิเคราะห์งบประมาณต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กลุ่มวิจัยและประเมินผล สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 12
สถานภาพเศรษฐกิจประเทศไทยสถานภาพเศรษฐกิจประเทศไทย • ปัญหาข้อเท็จจริง • ความเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีผลต่อระบบสวัสดิการสังคม • การขาดการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในระยะยาว • ปัญหาความเหลื่อมล้ำรายได้ของประชาชน • การเพิ่มศักยภาพการหารายได้ของภาครัฐ
การจัดสรรงบประมาณของประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันการจัดสรรงบประมาณของประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
การจัดสรรงบประมาณของประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันการจัดสรรงบประมาณของประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ความซับซ้อนของเครื่องมือการคลังปัจจุบันความซับซ้อนของเครื่องมือการคลังปัจจุบัน • ปัจจุบันเครื่องมือการคลังมีความซับซ้อนมากขึ้น • งบประมาณที่มีหลายชั้น (Multi – layers) • งบประมาณรัฐบาล (Agenda + Function Bases) • งบประมาณระดับพื้นที่ (Area Base) • งบประมาณท้องถิ่น • เงินนอกงบประมาณ • กองทุน + เงินทุน (เงินหมุนเวียน) • งบประมาณรัฐวิสาหกิจ • SFIs
นโยบายการคลังปัจจุบันนโยบายการคลังปัจจุบัน • มุ่งเน้นการใช้เครื่องมือด้านอุปสงค์มากกว่าด้านอุปทาน • ไม่อาจนำเสนอการลงทุนขยายใหญ่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศในระยะยาวได้ • ระบบงบประมาณที่เป็นอยู่เป็นเพียงการแสดงการใช้จ่ายที่อยู่ในระบบงบประมาณของหน่วยงานระดับกรมเท่านั้น ไม่มีการจัดลำดับความสำคัญของแผนงานโครงการที่ชัดเจน
รูปธรรมการปฏิรูปการเงินการคลังรูปธรรมการปฏิรูปการเงินการคลัง • เร่งรัด/ปรับปรุง การออก พรบ. การเงินการคลังของรัฐ พ.ศ...... • ออก พรบ. จัดตั้งสำนักงบประมาณประจำรัฐสภา (Thai Parliamentary Budget Office: Thai PBO)ภายในปี 2557 • ปรับปรุงการเปิดเผยข้อมูลการคลังต่อสาธาณะ • ให้รายงานฐานะการคลัง ‘เป็นประจำ’ ที่รวม • ในงบประมาณ + นอกงบประมาณ • รวมฐานะของหน่วยงานรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินรัฐ • การคลังส่วนท้องถิ่น • โดยมีบทลงโทษที่ชัดเจนหากหน่วยงานรับผิดชอบไม่เปิดเผยข้อมูล
การจัดทำและเผยแพร่ ‘รายงานงบประมาณฉบับประชาชน’ • สำหรับประชาชนอ่านได้ง่าย ใช้ภาษา ‘ชาวบ้าน’ • ครอบคลุมเนื้อหาการคลังระยะปานกลาง • ภาพรวมเศรษฐกิจมหภาค • งบประมาณระยะปานกลาง 3-5 ปี (รายได้ รายจ่าย ดุลงบประมาณ) • ประมาณการรายได้ภาครัฐ • ต้นทุนการคลังของ ‘นโยบายใหม่ที่สำคัญ’ • ผลกระทบต่อ ‘สาขาเศรษฐกิจ’ ของนโยบายการคลังโดยรวมและ ‘นโยบายใหม่ที่สำคัญ’ • เผยแพร่พร้อมเอกสารงบประมาณสำหรับสมาชิกรัฐสภา (3 เดือนก่อนปีงบประมาณเริ่ม)
Thai PBO ข้อเสนอการจัดตั้งสำนักงบประมาณประจำรัฐสภาThai Parliamentary Budget Office
พรบ. การจัดตั้ง Thai PBO • ให้เป็นหน่วยงานวิเคราะห์ด้านการคลังที่เป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร • การแต่งตั้งผู้บริหารไม่ขึ้นกับฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) • มีความรับผิดชอบต่อฝ่ายนิติบัญญัติและสาธารณะโดยรวม • มีหน้าที่ทำการวิเคราะห์ • ภาพรวมเศรษฐกิจมหภาค • ฐานะการคลังภาครัฐโดยรวม • ต้นทุนการคลังของมาตรการที่สำคัญ • ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของมาตรการที่สำคัญ • ต้องเป็นกลางทางการเมือง • ไม่ฝักใฝ่พรรคการเมือง • มีบุคลากรและได้รับงบประมาณเพียงพอ • มีอำนาจตามกฏหมายในการเข้าถึงข้อมูลการคลังทุกประเภท
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบของรายจ่ายภาครัฐตามแนวนโยบายรัฐ (ภาคเกษตร) • วัตถุประสงค์ในการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะของส่วนประกอบของรายจ่ายของภาครัฐบาลไทย 2. เพื่อจำแนกการใช้จ่ายของรัฐบาลตามองค์ประกอบต่างๆตามระบบ GFS (Government Finance Statistics) ทั้งทางด้านการจำแนกรายจ่ายของรัฐตามลักษณะงาน และลักษณะเศรษฐกิจ ว่ามีการกระจายสู่ภาคการผลิตไหนบ้างในตารางปัจจัยการผลิตและผลผิต (Input-Output Table) 3. เพื่อศึกษาถึงผลกระทบหากมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในการใช้จ่ายประเภทต่างๆ ของภาครัฐที่มีต่อภาคการผลิตในประเทศรวมทั้งตัวแปรทางเศรษฐกิจต่างๆของประเทศ
สัดส่วนของรายจ่ายของรัฐตามลักษณะเศรษฐกิจและตามลักษณะงานปี พ.ศ.2558
แบบจำลองในการศึกษาองค์ประกอบการใช้จ่ายของรัฐบาล โครงสร้างทางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table) การสร้างตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตที่มีการกระจายดูส่วนประกอบของรายจ่ายของรัฐ ตามลักษณะเศรษฐกิจ และนำไปปรับปรุงฐานข้อมูลตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตเท่าเดิมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในรายจ่ายของรัฐที่เกิดขึ้น • ในส่วนของภาครัฐในตาราง I-O Table จะประกอบไปด้วย • การใช้จ่ายภาครัฐ • การลงทุนภาครัฐ
การวิเคราะห์รายการใช้จ่ายงบประมาณตามแนวนโยบายรัฐการวิเคราะห์รายการใช้จ่ายงบประมาณตามแนวนโยบายรัฐ • มีข้อสมมติฐานที่สำคัญว่ายังไม่ทราบว่ามีการใช้จ่ายจริงลงในรายการใช้จ่ายงบประมาณตรงสาขาการผลิตใด • จะทำการกระจายงบประมาณโดยการแตกข้อมูลโดยวิธี Guide Matrix เพื่อสร้างเป็น Bridge Matrix • ลดความคลาดเคลื่อนจากผลกระทบ (Effect Multiplier) ต่อตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตที่ต้องรักษาโครงสร้างเหมือนเดิม
ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต Unit: Baht Goods Industries Final Demand Total Outputs 1... n 1 2 . . n X11 X21 . . Xn1 …..X1n …..X2n . . …..Xnn X1H X2H . . XnH X1G X2G . . XnG X1 X2 . . Xn primary inputs L1 …..Ln Equilibrium : Xi = Ci C1 …..Cn Costs
แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา • แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษานั้นได้มาจากโครงสร้างตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต สามารถเขียนความสัมพันธ์แสดงในรูปของคณิตศาสตร์ ได้ดังนี้ • ด้านแนวนอน (Row) จะแสดงถึงการกระจายผลผลิตของสาขาการผลิตที่ i โดยสมมติให้มี n สาขาการผลิต คือ • Xi = xij + Fi (i = 1,2,...n) • โดยที่ Xi = มูลค่าผลผลิตรวมของสาขาการผลิตที่ i • xij = การหมุนเวียนของสินค้าสาขาการผลิตที่ i เพื่อการผลิตสินค้าของสาขาการผลิตที่ j • Fi = อุปสงค์ขั้นสุดท้ายที่มีต่อสินค้าสาขาการผลิตที่ i
a11 a12 X1 X2 X1H X2H a21 a22 จัดรูปสมการใหม่ จะได้ (1 - a11 ) X1 - a12 X2 = X1H ---(1-b) - a21 X1 + (1 - a22 ) X2 = X2H ---(2-b) หรือในรูปของ matrix : (I - A) X = F F= X = A = คำตอบ: X = (I - A) -1F
Input-Output Table(Closed Economy) Unit: Baht Goods Industries Final Demand Total Outputs 1... n 1 2 . . n X11 X21 . . Xn1 …..X1n …..X2n . . …..Xnn X1H X2H . . XnH X1G X2G . . XnG X1 X2 . . Xn primary inputs L1 …..Ln Equilibrium : Xi = Ci C1 …..Cn Costs
X1H X2H . . . XnH +X1G +X2G . . . +XnG X1 X2 . . . Xn a11 a12 … a1n a21 a22 … a2n an1 an2 … ann เขียนในรูป matrix ได้ว่า: (I - A) X = D เมื่อ aij = Xij / Xj ; i, j = 1, 2, … , n D = X = A = คำตอบ : X = (I - A) -1D
จาก: X = (I - A) -1F การประยุกต์ใช้แบบจำลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต 1.Production Planning 2.Output Multiplier 3.Linkage Effect
แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา • สมมติให้การใช้ปัจจัยการผลิต (Input) เป็นสัดส่วนโดยตรงกับมูลค่าผลผลิต (Output) แล้วจะได้ xij= aij * Xj หรือaij = xij / Xj โดยที่ aijเรียกว่า ค่าสัมประสิทธิ์ปัจจัยการผลิตขั้นกลาง (Input or Technical Coefficient) ซึ่งหมายถึง สัดส่วนการใช้ปัจจัยการผลิตที่ iในการผลิตสินค้าสาขาการผลิตที่ j • จากความสัมพันธ์ที่แสดงข้างบนสามารถอธิบายในรูปเมตริกซ์ (Matrix Form) ได้ดังนี้ q = A q + F q – A q = F (I-A) q = F q = 1/ (I-A) ·F
แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา • q = [ I-A ] -1·F • โดยที่ [I-A]–1เรียกว่า Leontief Inverse Matrix หรือ Inverse Matrix ซึ่งตั้งชื่อให้ตาม Prof.wassilyW.Leontiefผู้คิดค้นทฤษฎี Input-Output Inverse Matrix นี้ นับเป็นหัวใจสำคัญในการใช้วิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจด้วยตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
โครงสร้างการกระจายตารางโครงสร้างการกระจายตาราง • q = [ I-A ] -1· (BMC*c + BMI*vf + vi + g + e + es – m) จากนั้น ก็นำมาแสดงในรูปของ Bridge Matrix (BM)ในสมการภาครัฐที่สนใจ q = A*q + BMC*cg + BMI*ig q = [ I-A ] -1· (BMC*cg + BMI*ig) โดยที่ BMC = 44x3 consumption bridge matrix, BMI = 44x2 investment bridge matrix
โครงสร้างการกระจายตาราง (ต่อ) • ตาราง I-O ของ NESDB นั้นจะมีเพียง 1 government consumption เท่านั้น ในการวิเคราะห์ทางผู้ศึกษาแบ่ง government consumption column vector ออกเป็นรายจ่ายของรัฐตามลักษณะงาน matrix 44x3 โดยใช้ Guide matrix เป็นการกระจายข้อมูลรายการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐปี 2558 เป็นสัดส่วน (share) ในการกระจาย government consumption column vector เป็น government consumption matrix ขนาด 44x3
ภาพ โครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาล (แนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ)
การวิเคราะห์รายการใช้จ่ายงบประมาณภายใต้แบบจำลอง • หลังจากมีการกระจายข้อมูลแล้วรายจ่ายของรัฐจะมีมิติเพิ่มมากขึ้น • การวิเคราะห์ผลกระทบการใช้จ่ายภาครัฐเป็นการเชื่อมโยงผลกระทบระดับสาขาการผลิตกับตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table) • โดยการใช้เทคนิค Guide Matrixว่าการใช้จ่ายงบประมาณของภาครัฐลงไปที่สาขาการผลิตใดบ้าง
การวิเคราะห์รายการใช้จ่ายงบประมาณภายใต้แบบจำลอง • ผลกระทบที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐได้ชัดเจนและวัดผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยวิเคราะห์ผลกระทบโดยรวมที่จะเกิดกับตัวแปร มหภาคของประเทศไทยจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงในภาคเศรษฐกิจต่างๆของประเทศด้วย • การวัดผลกระทบนี้จะวัดในเชิงปริมาณภายใต้แบบจำลองดุลยภาพทั่วไป I-O Table ซึ่งการวัดผลกระทบนี้จะทำภายใต้สมมติในการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายภาครัฐในกรณีต่างๆ โดยในการศึกษานี้นั้นจะทำการวัดผลกระทบในระยะสั้นเท่านั้น ไม่รวมไปถึงผลกระทบในระยะยาว และถือว่ารายจ่ายของรัฐเป็นอุปสงค์ขั้นสุดท้ายเท่านั้น ไม่มีผลต่อการสะสมทุน
ผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิตผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิต • รายจ่ายด้านสาธารณสุข (Services) - ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ (ผลิตภัณฑ์เหมืองแร่) - ภาคผลิตภัณฑ์อาหาร - ภาคเหมืองแร่ (อุตสาหกรรมไม่ใช่เหล็ก) 31
ผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิตผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิต • รายจ่ายด้านการเคหะและชุมชน (กองทุนหมู่บ้าน) - ภาคการก่อสร้าง - ภาคผลิตภัณฑ์อาหาร - ภาคบริการสังคม 32
ผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิตผลกระทบนโยบายจากผลกระทบต่อภาคการผลิต • รายจ่ายด้านการการบริหารทั่วไปของรัฐ (Public utilities) (ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ) - ภาคบริการ (ธนาคารและประกันภัย) - ภาคอุสาหกรรมไม่ใช่เหล็ก - ภาคปิโตรเลี่ยม 33 33