360 likes | 611 Views
ข้อมูลสุขภาพ 21, 43 แฟ้ม : การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์. ทิศทางการดำเนินงาน เทคโนโล ยี่สารสนเทศ กับการจัดการแฟ้มข้อมูลสุขภาพ ผศ .( พิเศษ ) นพ . พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผอ . ศุนย์เทคโนโล ยี่สารสนเทศ การติดตามประเมินผลการป้องกันควบคุมโรค และ ข้อมูลสุขภาพและการแพทย์ 43 แฟ้ม
E N D
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์ • ทิศทางการดำเนินงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ กับการจัดการแฟ้มข้อมูลสุขภาพ • ผศ.(พิเศษ)นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผอ.ศุนย์เทคโนโลยี่สารสนเทศ • การติดตามประเมินผลการป้องกันควบคุมโรค และ ข้อมูลสุขภาพและการแพทย์ 43 แฟ้ม • ดร.นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก • กระบวนการพัฒนาข้อมูลสุขภาพ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ ที่ 2 • อุษารัตน์ ติดเทียน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก • ถอดรหัสข้อมูลสุขภาพสู่การปฏิบัติและนำไปใช้ประโยชน์ - - • นางสมศรี คำภีระ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก • นายสิทธิพงศ์ พรมหาญ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก • สาธิตกรณีตัวอย่างการนำสารสนเทศมาใช้ประโยชน์เพื่อการติดตามประเมินผล ความครอบคลุมวัคซีน การคัดกรองโรคไม่ติดต่อ 15.40 – 16.3050 min • นายดุสิต ทัพผดุง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ • นายสิทธิพงศ์ พรมหาญ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก
การติดตามประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคด้วยข้อมูลสุขภาพและการแพทย์ 43 แฟ้ม ดร.นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
หัวข้อการนำเสนอ • ตัวชี้วัด การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค • โครงสร้างฐานข้อมููล 43 แฟ้ม • Introduction to SQL • หลักการพื้นฐาน • คำสั่ง • ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้วัด การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคปีงบประมาณ 2556
ตัวชี้วัด NCD และ ข้อมูลที่ต้องการ
ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของประชาชนจำแนกตามกลุ่มอายุ - อายุ 15-34 ปี - อายุ 35-59 ปีและ - อายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ข้อมูลที่ต้องการ 1. จำนวนประชาชนไทยจำแนกกลุ่มอายุ ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดในพื้นที่ 2. จำนวนผู้ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ตามมาตรฐาน 2.1 จำนวนกลุ่ม Pre-DM, Pre-HT แยกตามกลุ่มอายุ 2.2 จำนวนผู้ป่วย DM, HT รายใหม่ แยกตามกลุ่มอายุ
ตัวชี้วัด ผู้ป่วยเบาหวานที่คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ข้อมูลที่ต้องการ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับ การติดตามในคลินิกเบาหวาน- จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1C - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C น้อยกว่า 7- จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความดันโลหิต 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน <130/80 มม.ปรอท)
ตัวชี้วัด EPI และ ข้อมูลที่ต้องการ
ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของเด็กจำแนก ตามกลุ่มอายุได้รับวัคซีนแต่ละประเภท ตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลที่ต้องการ - ประชากรเด็กเป้าหมาย จำแนกตามกลุ่มอายุ สอดคล้องกับการประเมินผลงานการได้รับวัคซีนแต่ละประเภท- จำนวนเด็กในพื้นที่ จำแนกตามกลุ่มที่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (ตามช่วงเวลา / งวดรายงาน) ที่ใช้ประเมิน
MySQL • Relational database • โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลแจกฟรี http://dev.mysql.com/downloads/
Select คำสั่งดึงและวิเคราะห์ข้อมูลจากตาราง • รูปแบบ • Select ชื่อฟิลด์1 ชื่อฟิลด์2 ชื่อฟิลด์3 from ชื่อตาราง • [where เงื่่อนไข]
ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด A = จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ในงวดรายงานนั้นที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด B = จานวนเด็กอายุครบ 1 ปีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ในงวดรายงานนั้น สูตรการคำนวณ = (A/B) x 100
ฐานข้อมูล21,43 แฟ้ม • แฟ้มepi : • epi.date_serv • epi.vcctype • b. แฟ้มperson : person.pcucode , pid, birth , sex , nation , dischar , labor , typearea
โครงสร้างแฟ้ม Person มี Field ดังนี้ • pcucode • pid • birth • sex • nation • dischar • labor • typearea
ชนิดของข้อมูลใน ไฟล์ EPI ของ 43 แฟ้ม
คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT person.HOSPCODE, chospital.hosname, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) as a, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) as b FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = person.HOSPCODE WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN '20111001' AND '20120930' GROUP BY person.HOSPCODE
คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT chospital.distcode,campur.ampurname,sum(a1) as A,sum(b1) as B,FORMAT(IFNULL(sum(a1)/sum(b1) * 100,0),2) AS PERCENT FROM (SELECT person.HOSPCODE, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) AS a1, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) AS b1 FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN @START_DATE AND @END_DATE GROUP BY person.HOSPCODE) as dev1 INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = dev1.HOSPCODE INNER JOIN campur ON campur.changwatcode = chospital.provcode AND campur.ampurcode = chospital.distcode WHERE chospital.provcode = @PROVINCE_CODE GROUP BY chospital.distcode
คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT person.HOSPCODE, chospital.hosname, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) as a, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) as b FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = person.HOSPCODE WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN '20111001' AND '20120930' GROUP BY person.HOSPCODE
คุณสมบัติของสารสนเทศ ที่ดีควรมีคุณสมบัติดังน้ี • มีความถูกต้องเชื่อถือได้(Accuracy) • สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) • ความสมบูรณ์ (Completeness) • ทันต่อการใชงานหรือทันเวลา(Timeliness) • ความกระทัดรัด(Conciseness) • ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)
Leading practice and Best practice