110 likes | 353 Views
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์. ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองมาตรฐาน ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พ.ศ.2542. ยื่นคำร้องพร้อมด้วย หลักฐานต่อปศุสัตว์จังหวัด หรือปศุสัตว์อำเภอ. Certificated that……. เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อำเภอจึงไปตรวจสอบฟาร์มเพื่อดำเนินการต่อไป.
E N D
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองมาตรฐาน ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พ.ศ.2542 ยื่นคำร้องพร้อมด้วย หลักฐานต่อปศุสัตว์จังหวัด หรือปศุสัตว์อำเภอ Certificated that…….. เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อำเภอจึงไปตรวจสอบฟาร์มเพื่อดำเนินการต่อไป
ฟาร์มเลี้ยงสัตว์จำเป็นต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานครบ 5 ประการ ดังนี้ • 1. มีระบบการทำลายเชื้อโรคก่อนเข้า-ออกจากฟาร์ม • 2. มีการจัดการโรงเรือนที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล • 3. โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงสัตว์มีลักษณะและขนาดเหมาะสมกับจำนวนสัตว์ • 4. การจัดการด้านบุคลากร สัตวแพทย์ สัตวบาล และผู้เลี้ยงสัตว์ต้องมีเพียงพอและเหมาะสมกับจำนวนสัตว์ • 5. การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ โดยมีโปรแกรมการให้วัคซีนป้องกันโรคที่เหมาะสม
โรคระบาดสัตว์ที่สำคัญตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ที่สำคัญตามพระราชบัญญัติ โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 ได้แก่ • 1. โรคกาฬโรคเป็ด 2. โรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า • 3. โรคไข้หวัดใหญ่ม้า 4. โรคไข้เห็บม้า • 5. โรคแซลโมเนลลา 6. โรคดูรีน • 7. โรคทริคิโนซิส 8. โรคนิวคาสเซิล • 9. โรคบรูเซลโลซีส 10. โรคปากอักเสบพุพอง • 11. โรคฝีดาษม้า 12. โรคโพรงจมูกและปอดอักเสบในม้า
โรคระบาดสัตว์ที่สำคัญตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ที่สำคัญตามพระราชบัญญัติ โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 ได้แก่ 13. โรคมดลูกอักเสบติดต่อในม้า 14. โรคเรื้อนม้า 15. โรคเลปโทสไปรา 16. โรคโลหิตจางติดเชื้อในม้า 17. วัณโรค 18. โรควัวบ้า 19. โรคสมองอักเสบนิปาห์ 20. โรคสมองและไขสันหลังอักเสบในม้า 21. โรคสมองและไขสันหลังอักเสบเวเนซูเอลาในม้า 22. โรคสมองอักเสบเจแปนิส 23. โรคหลอดเลือดแดงอักเสบติดเชื้อในม้า 24. โรคเอเวียนอินฟลูเอนซา
สิทธิประโยชน์ของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐานสิทธิประโยชน์ของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐาน • การเคลื่อนย้ายสัตว์ ผู้ประกอบการฟาร์มเลี้ยงโคนมและสุกรสามารถขออนุญาตเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าในหรือผ่านเขตปลอด โรคระบาดได้จากปศุสัตว์จังหวัด โดยปฏิบัติตามระเบียบกรมปศุสัตว์ ว่าด้วยการนำเข้าหรือการเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2537 ข้อ 7 (2) ยกเว้นสุกรขุนที่จะเข้าหรือผ่านเขตจังหวัดภาคใต้ ซึ่งจะต้องขออนุมัติจากกรมปศุสัตว์
สิทธิประโยชน์ของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐานสิทธิประโยชน์ของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐาน • กรมปศุสัตว์จะจัดสรรวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย และโรคอหิวาต์สุกร ให้มีจำหน่ายอย่างเพียงพอตามปริมาณสุกรของ ฟาร์มเลี้ยงสุกรมาตรฐาน • กรมปศุสัตว์ จะให้บริการการทดสอบโรคแท้งติดต่อในพ่อแม่พันธุ์สุกร รวมทั้งโรคแท้งติดต่อและวัณโรคในโคนม โดยไม่คิดมูลค่า สำหรับฟาร์มที่ได้มาตรฐาน • กรมปศุสัตว์ จะให้บริการการตรวจวินิจฉัยและชันสูตรโรคสัตว์ โดยไม่คิดมูลค่า สำหรับตัวอย่างที่ส่งตรวจจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มาตรฐาน
การเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ภายในราชอาณาจักร แบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ 1. การเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ไปยังท้องที่ต่างจังหวัด 2. การเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ภายในเขตโรคระบาด เข้าใน หรือ ออกนอกเขตโรคระบาด เขตที่สงสัยว่ามีโรคระบาด หรือเขตโรคระบาดชั่วคราว 3. การเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์เข้าใน หรือ ผ่านเขตปลอดโรคระบาด 4. การเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ภายใน หรือระหว่างเขตปลอดโรคระบาด
เขตปลอดโรคระบาด • เขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย มีพื้นที่ตั้งแต่ ประจวบคีรีขันธ์ลงไปจนสุดชายแดนภาคใต้ (เขต 8 , 9)ประกอบด้วย 15 จังหวัดภาคใต้ คือ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง พังงา ภูเก็ต สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา ระนอง และนราธิวาส และพื้นที่ในภาคตะวันออก(เขต 2) ของประเทศ ไทย ประกอบด้วย 8 จังหวัด คือนครนายก ปราจีนบุรี ตราด สระแก้ว จันทุบรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ • เขตปลอดโรครินเดอร์เปสต์ คือ พื้นที่ ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ต่อกับลงไปจนสุดชายแดนภาคใต้ (เขต 8 , 9)