130 likes | 1.05k Views
www.LearnWWW.com. บทที่ 9 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control). SkulKMITL@gmail.com. บทที่ 9. เนื้อหา ความหมายของการควบคุมคุณภาพ ความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ ความเป็นมาของการควบคุมคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ควบคุมคุณภาพ ระบบการควบคุมคุณภาพ.
E N D
www.LearnWWW.com บทที่ 9 การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) SkulKMITL@gmail.com
บทที่ 9. • เนื้อหา • ความหมายของการควบคุมคุณภาพ • ความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพ • ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ • ความเป็นมาของการควบคุมคุณภาพ • เครื่องมือที่ใช้ควบคุมคุณภาพ • ระบบการควบคุมคุณภาพ • วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษา • ทราบและเข้าใจความหมายและความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพ • ทราบและเข้าใจประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ • ทราบและเข้าใจถึงความเป็นมาของการควบคุมคุณภาพ • ทราบและเข้าใจหลักการควบคุมคุณภาพ • ทราบและเข้าใจระบบการควบคุมคุณภาพ www.LearnWWW.com
ความหมายของการควบคุมคุณภาพความหมายของการควบคุมคุณภาพ ควบคุม หมายถึง ดูแล, กำกับดูแล ดังนั้น การควบคุมคุณภาพ จึงหมายถึง การกำกับดูแลเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต พ.ศ. 2542 การควบคุมคุณภาพ หมายถึง กิจกรรมและเทคนิคเชิงปฏิบัติการ (การที่มุ่งเน้นทั้งการเฝ้าพินิจ(Monitoring) กระบวนการและกำจัดปัญหาสาเหตุของสมรรถนะที่แสดงความไม่พึงพอใจ) ที่ใช้เพื่อให้บรรลุผลตามความต้องการด้านคุณภาพ ISO 8402 : 1994 สรุป คุณภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบได้เหมาะสมในงานที่ได้ดี กระบวนการผลิตดี มีความคงทน สวยงามเรียบร้อย และมีความละเอียดเป็นไปตามข้อกำหนดของผู้สั่งซื้อ
ความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ในขบวนการผลิตใดๆ ส่วนที่ทำให้เกิดผลผลิตที่ดีคือ คน เครื่องจักร และวัตถุดิบ • คน (Man) เป็นองค์ประกอบที่ทำให้เกิดความผันแปรในกระบวนการผลิต ความผันแปรที่เกิดจากการจัดการ(การทำงานขาดการวางแผน, เปลี่ยนระบบการจัดการ) ด้านแรงงาน (ขาดความรู้ ขาดความชำนาญ) ส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิต • เครื่องจักร (Machine) อายุการใช้งานของเครื่องจักร • วัตถุดิบ (Material) เป็นตัวกำหนดคุณภาพเบื้องต้นของกระบวนการผลิต
ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ • ลดค่าใช้จ่าย : ความเสียหายจากการกำหนดระบบการทำงานที่ซ้ำซ้อน ลดการซ่อมแซมแก้ไขผลผลิตใหม่ ลดการหยุดการทำงานระหว่างการผลิต • ทำให้ขายผลิตได้ตามราคาที่กำหนด • ทำให้บรรยากาศในการทำงานดีขึ้น
ความเป็นมาของการควบคุมคุณภาพความเป็นมาของการควบคุมคุณภาพ ตามเป้าหมายของการกระบวนการผลิต มุ่งเน้นการผลิตที่ไม่มีสิ่งของเสียหาย • ค.ศ. 1924 วอลเทอร์ นำแผนภูมิมาใช้ในการควบคุมคุณภาพกับ บริษัท Bell Telephone Laboratories • ค.ศ. 1926 เอช.เอฟ.ดอดจ์ นำหลักการทางสถิติ มาสร้างตารางหรับการสุมตรวจสอบคุณภาพ • หลังสงครามโลก ดับเบิลยู ดี เดมมิง นำมาใช้ในประเทศญี่ปุ่น ทำมีการพัฒนาการควบคุมคุณภาพ เกิดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (Quality Control Circle: QCC ) และพัฒนามาเป็น “การควบคุมคุณภาพแบบสมบูรณ์” Total Quality Control : TQC • ประเทศอังกฤษ ได้ก่อตั้งสถาบัน ISO : International Organization for Standard) สำหรับการส่งออกของสินค้า เป็นองค์มหาชนที่มีสมาชิกที่เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติกว่า 100 ประเทศ • ประเทศได้ก่อตั้ง สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) พ.ศ. 2511 • พ.ศ. 2534 ประเทศไทยได้นำระบบ ISO 9000 มาใช้ประเทศไทย
หลักการควบคุมคุณภาพ 1. ความมีส่วนร่วมทั่วทั้งองค์กร 2. หลักการมีระบบ 3. หลักของความมีเหตุผล : มักนำสารสนเทศมาทำการวิเคราะห์หรือตรรกะสำหรับการตัดสินใจ ระดับบริหาร การวินิจฉัย ระดับหัวหน้างาน การสอนงาน ระดับหน้างาน การเฝ้าสังเกตอาการปัญหาและแก้ไข
เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ • ผังพาเรโต • ผังก้างปลา • กราฟและรูปภาพ • แผ่นตรวจสอบรายการ • ฮิสโตแกรม • ผังการกระจาย • แผนภูมิควบคุม • เครื่องมือใหม่
ระบบการควบคุมคุณภาพ • กิจกรรม 5 ส. • ISO 9000 • รางวัล Malcolm • Total Quality Management : TQM
Report & Presentation จากแผนการเรียน 1.2 รายงานกลุ่ม 10% 1.3 แบบฝึกหัด 10% • เอกสารรูปเล่มถูกต้องตามหลักการทำรายงาน • ค้นคว้าจาก Internet แต่ต้องมาจัดให้เป็นระบบการพิมพ์ของตนเอง • เนื้อหาต้องเชื่อถือได้ • ตัวอย่างการนำมาใช้งานในองค์กรอื่น หรือ องค์กรตัวนักศึกษา • การนำเสนอ • ต้องนำเสนอทุกคนในกลุ่ม • Power Point ต้องง่ายไม่ควรนำ Word มาใช้นำเสนอ • ต้องอธิบาย/ยกตัวอย่าง นอกเหนือจาก slide เพิ่มเติม ไม่ควรอ่านให้ฟังตลอดการนำเสนอ • เวลาท่านละ ประมาณ 15 นาที ตอบในสิ่งที่นำเสนอแต่ละท่าน 5 นาที(เพื่อนร่วมกลุ่มช่วยตอบได้ถ้าเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน)