330 likes | 458 Views
โครงการนำร่อง ภาคใต้. การขับเคลื่อนและผลักดัน ยุทธศาสตร์การวิจัยชาติและพัฒนาพื้นที่ แบบมีส่วนร่วม. สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช ) ดำเนินการโดย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ( มวล ). 3 จังหวัดนำร่อง. จังหวัดระนอง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา.
E N D
โครงการนำร่อง ภาคใต้ การขับเคลื่อนและผลักดัน ยุทธศาสตร์การวิจัยชาติและพัฒนาพื้นที่ แบบมีส่วนร่วม สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ดำเนินการโดย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (มวล)
3 จังหวัดนำร่อง • จังหวัดระนอง • จังหวัดนครศรีธรรมราช • จังหวัดสงขลา
วิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราชวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราช “นครศรีธรรมราช เมืองศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ เมืองเกษตรและท่องเที่ยวน่าอยู่ สู่สังคมพัฒนายั่งยืน”
วิสัยทัศน์จังหวัดสงขลาวิสัยทัศน์จังหวัดสงขลา “สงขลา 2554 ศูนย์กลางธุรกิจการค้า การบริการ และการศึกษาภาคใต้บนพื้นฐานความอยู่ดีมีสุขของประชาชน”
วิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดระนองวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดระนอง “ เป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศฝั่งอันดามันที่ดำรงไว้ซึ่งการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ ”
กรอบคิด: การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาทั้งพื้นที่ พหุภาคี: ราชการ(จังหวัด/อปท) ธุรกิจ/เอกชน ประชาชน(ชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน) วิชาการ(สถาบันการศึกษา) ‘ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมทุน’
Nakhonsithammarat model พื้นที่จังหวัด และ กลุ่มจังหวัด พื้นที่ ภาคีเอกชน ภาคีวิชาการ ภาคีจังหวัด พื้นที่ พื้นที่ ภาคีประชาชน
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 9 เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา วิชาการ ชุมชนท้องถิ่น เอกชน/ผู้ประกอบการ อปท(อบจ/อบต) Songkhla model 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด ?
โครงการนำร่อง 1 ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4:ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนที่ 4:การจัดการทรัพยากรน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช จากความขัดแย้ง…….สู่สมานฉันท์
ข้อมูลฐานความรู้….เพื่อการตัดสินใจในการพัฒนาข้อมูลฐานความรู้….เพื่อการตัดสินใจในการพัฒนา • ความขาดสมดุล...........จุดเริ่มต้นของปัญหา • ข้อมูลเหตุผลการมีส่วนร่วม… คือเครื่องมือคลี่คลายความขัดแย้ง
พื้นที่ประมาณ 1.9ล้านไร่ การบริหารจัดการน้ำ พื้นที่ ต.ขนาบนาก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
ระบบ3 น้ำ น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย การบริหารจัดการน้ำ ตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีรรมราช
วิถีชีวิตชุมชนชาวลุ่มน้ำปากพนังวิถีชีวิตชุมชนชาวลุ่มน้ำปากพนัง ป่าจาก นาข้าว
ใจมา เวลามี เวทีเกิดวิชม ทองสงค์
การมีส่วนร่วม: วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล รู้จริง เข้าถึง จึงพัฒนา
ทุกภาคีมีส่วนร่วม NBT: วลัยลักษณ์สู่สังคม
สมการแห่งความสมดุล ภาครัฐ (ชลประทาน, ศูนย์อำนวยการฯ) + อบต (นายก อบต., สมาชิก) + ภาคชุมชน (กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ชาวบ้าน) + ภาควิชาการ (สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่) + ข้อตกลงร่วมในการบริหารจัดการ ความสมดุล / ลดความขัดแย้ง / ความสมานฉันท์ / เกิดประโยชน์สูงสุดทุกฝ่าย(ผู้ได้รับผลกระทบ ที่ประกอบอาชีพอยู่ในพื้นที่)
พื้นที่ตำบลขอนหาด จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการนำร่อง 2 ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 1: การสร้างศักยภาพและความสามารถ เพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนที่ 9:เทคโนโลยีใหม่เพื่ออุตสาหกรรม ตัวอย่างความร่วมมือกับ อบต. และกลุ่มชุมชนอาชีพพริก
ปัญหา “พริก” โรคใบหงิกงอจากเชื้อvirus โรครากเน่าจากเชื้อรา การทำพริกแห้ง
เครื่องอบพริกแห้ง โดยการประยุกต์ เทคโนโลยีพลาสมา
การถอดบทเรียน • พื้นที่มีความเข้าใจในบทบาทของ วช. • เห็นผลในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติสู่การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในพื้นที่ • มีการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเชิงประจักษ์ • ทำให้จังหวัด/อปท/ชุมชนในพื้นที่เห็นความสำคัญของการสร้างองค์ความรู้เพื่อการตัดสินในในการพัฒนาพื้นที่ • มี Impact ต่อการต่อยอดโครงการวิจัยสู่การวิจัยภาครัฐร่วมเอกชน
การยกระดับในการขับเคลื่อนการยกระดับในการขับเคลื่อน ►MOUกับจังหวัด/อบจ ►การจัดทำโครงการวิจัยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาในพื้นที่จังหวัดร่วมมือกับจังหวัด/อบจ ►การประสานงานกับเครือข่ายการวิจัยของสกอ./สนช • เครือข่ายการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ฐานรากชุมชน • เครือข่ายการวิจัยภาครัฐร่วมเอกชน • เครือข่ายการวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติสาขาภาคใต้
พิธีลงนามความร่วมมือระหว่าง วช.กับจังหวัดและอบจ ภาคใต้
ชุดโครงการวิจัย เรื่อง "การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทย" จังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง จังหวัดนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรกฎาคม 2553
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยจังหวัดนครศรีธรรมราช
แนวทางการบริหารและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แนวทางการบริหารและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด • ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้แทน • หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด • หน่วยงานภาคเอกชน • ผู้แทนองค์กรภาคประชาชน • ชุมชนท้องถิ่น • ผู้แทนหอการค้าจังหวัด • ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ • งบประมาณของจังหวัด • งบประมาณการวิจัยของจังหวัด • ยุทธศาสตร์จังหวัด • บุคลากรด้านการวิจัย • หน่วยงานที่มีภารกิจด้านการวิจัย • สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ • หนึ่งจังหวัดหนึ่งมหาวิทยาลัย ??
ปี พ.ศ. 2553 การจัดตั้ง วช. 4ภูมิภาค VIRTUAL OFFICE ???
ทิศทางการวิจัยของชาติทิศทางการวิจัยของชาติ ความเข้มแข็งด้านการวิจัย การใช้ประโยชน์ผลการวิจัย เครือข่ายวิจัย เครือข่ายวิจัย เครือข่ายวิจัย เครือข่ายวิจัย เครือข่ายวิจัย เครือข่ายวิจัย องค์กรการวิจัย แหล่งทุนวิจัย ระบบการจัดสรรงบประมาณ การวิจัย สกว. สวทน. สวทช. สวรส. กระทรวง สวก. เอกชน สกอ. การบริหารและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติสู่การปฏิบัติ