1.01k likes | 1.61k Views
การจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสาน และการใช้สารเคมีในการเกษตร อย่างถูกต้องและปลอดภัย โดย. นางอารีย์พันธ์ อุปนิสากร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. หัวข้อบรรยาย. สถานการณ์ศัตรูพืช สถานการณ์สารเคมี ความจำเป็นใช้ IPM เงื่อนไขและข้อจำกัด IPM Ecological based
E N D
การจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสาน และการใช้สารเคมีในการเกษตร อย่างถูกต้องและปลอดภัยโดย นางอารีย์พันธ์ อุปนิสากร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
หัวข้อบรรยาย • สถานการณ์ศัตรูพืช สถานการณ์สารเคมี • ความจำเป็นใช้IPM • เงื่อนไขและข้อจำกัด • IPM Ecological based • ระดับเศรษฐกิจ(ETL) และวิเคราะห์ระบบนิเวศ(AESA) • การสำรวจ ติดตามสถานการณ์ • การจำแนกและจัดกลุ่มศัตรูพืชตามหน้าที่ในระบบนิเวศ
การควบคุมศัตรูพืช การควบคุมคือ การจัดการให้อยู่ในระดับที่รับได้ ระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ศัตรูพืช คือ สิ่งมีชีวิตที่กิน ทำลายหรือเบียดเบียนพืช และทำความเสียหายให้กับพืช ●ตาย ● ผลผลิตลดลง ●คุณภาพด้อยลง
การใช้สารเคมี • ใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน • เป็นวิธีเดียวที่เกษตรกรนึกถึง • เริ่มใช่เมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 • ปริมาณและชนิดเพิ่มอย่างรวดเร็ว • แต่ยังคงมีศัตรูระบาด
อันตรายของสารเคมี - ต่อผู้ใช้ - ต่อผู้บริโภค - ต่อเศรษฐกิจ สารเคมีทางการเกษตร - นำเข้า 500 ชนิด - มากกว่า15000 ชื่อ - มากกว่า 8000 ร้านค้า - หาซื้อได้ง่าย
การระบาดของศัตรูพืช ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ต้องเพิ่มปริมาณการพ่น และจำนวนครั้ง ชนิดของศัตรูพืชมีมากขึ้น
จุดวิกฤติของการกำจัดศัตรูพืชในปัจจุบันจุดวิกฤติของการกำจัดศัตรูพืชในปัจจุบัน • พิษตกค้างปนเปื้อนในผลผลิต • อันตรายต่อคนสัตว์และสิ่งแวดล้อม • ต้นทุนการผลิตสูง • นโยบาย อาหารปลอดภัย • มาตรการลดการใช้สารเคมี 96 ชนิด • เริ่มมีมาตรการใช้บังคับ GAP • การกีดกันทางการค้า ●
ไข่ ตัวเต็มวัย ตัวอ่อน ดักแด้ ศัตรูพืช
แมลง สัตว์โลกที่มีปริมาณชนิดมากที่สุดกว่า 1 ล้านชนิด มีกระดูกหุ้มเนื้อ มีการลอกคราบ มีข้อ มีปล้อง งอตัวได้ อยู่อาศัยได้ทุกที่ มีชีวิตหลายระยะ ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ ตัวเต็มวัย อยู่ในวัยที่ต่างกัน กินอาหารต่างกัน
ไข่ มีเปลือกหุ้ม หรือมีขนปกคลุม ตัวอ่อน มักกินศัตรูพืชอยู่ในที่ปลอดภัย ดักแด้มีผนังเหนียวหุ้มและหลบซ่อนอยู่ ตัวเต็มวัย มีปีก บินเร็ว ไกล มีขนหรือเกล็ดปกคลุม
มีการขยายพันธุ์แบบพิเศษมีการขยายพันธุ์แบบพิเศษ ออกลูกได้ครั้งละมากๆ และเร็ว ปรับตัวได้เก่งตามสภาพแวดล้อม ตัวเล็กกินอาหารได้มาก ชนิดเดียวกันกินอาหารต่างกัน อายุสั้น พัฒนาตัวเองได้เร็ว
Life cycle ระยะไข่ อายุ 5 - 7 วัน egg 5 - 7days ระยะไข่ อายุ 5 - 7 วัน ระยะไข่ อายุ 5 - 7 วัน ระยะหนอน อายุ 32 - 48 วัน moth 4 - 14days larva 32 - 48 days ระยะหนอน อายุ 32 - 48 วัน ระยะผีเสื้อ อายุ 4 - 14 วัน pupa 9 - 11days ระยะดักแด้ อายุ 9 - 11 วัน
ศัตรูพืช • สิ่งที่ทำให้พืชเสียหาย • ศัตรูคน คนเป็นสาเหตุ • คน(เกษตรกร)ต้องจัดการ • มีปัจจัยหลายอย่างมาเกี่ยวข้อง
การควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (IPM) การเขตกรรมเตรียมดิน ปลูก ทำความสะอาดแปลง วิธีกล เด็ดยอด ตัดต้น สารเคมี แช่ท่อนพันธุ์ ฉีดพ่น ชีววิธีตัวห้ำ ตัวเบียน เชื้อจุลินทรีย์ อื่นๆ แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจำกัด และช่วงเวลาที่เหมาะสม ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
การบริหารศัตรูพืช (Pest Management) เป็นการควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน เลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุด ตามสถานการณ์ และความรุนแรงของศัตรูพืช เพื่อให้การควบคุมปริมาณศัตรูพืชมีประสิทธิภาพสูงสุด คุ้มค่าทางเศรษฐกิจมากที่สุด ปลอดภัยต่อเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
ผลการควบคุมศัตรูพืช สถานการณ์ และปัจจัยแวดล้อมมีผลต่อความสำเร็จในการควบคุมศัตรูพืช ไม่เหมือนกันทุกที่ ลดความเสียหาย ความรุนแรง ควบคุมให้ไม่ระบาด/สมดุล ต้องมีการประเมินผลหลังการควบคุม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการระบาดของศัตรูพืชปัจจัยที่ทำให้เกิดการระบาดของศัตรูพืช • ปัจจัยธรรมชาติ • พืชอาหาร • พืชอาศัย • นิเวศวิทยาศัตรูพืช • นิเวศวิทยาศัตรูธรรมชาติ • ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆในระบบนิเวศ
ตัวอ่างปัจจัยที่มีผลต่อการะบาดของศัตรูพืชตัวอ่างปัจจัยที่มีผลต่อการะบาดของศัตรูพืช • พืช : พันธุ์ อายุ ความแข็งแรง/อ่อนแอ • แมลง: วัย ชนิด( ศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ แมลงอื่นๆ) ลักษณะการกิน • สิ่งแวดล้อม : อุณหภูมิ ความชื้น ลม แสงแดด • อื่นๆ: การปฏิบัติของเกษตรกร( ปุ๋ย ยา วิธีปลูก ฯลฯ)
การนำ IPM สู่การปฏิบัติของเกษตรกร ไม่ได้อยู่ที่ตัววิธีการเท่านั้นที่ต้องเลือกให้เหมาะสม แต่อยู่ที่เวลาในการเลือกใช้วิธีการนั้นๆ ต้องเหมาะสมต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งแมลง และปัจจัยแวดล้อม
วิธีที่เลือกต้องเหมาะสมต่อวิธีที่เลือกต้องเหมาะสมต่อ สถานการณ์ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การตลาด ต้องรวบรวม สำรวจ วิเคราะห์ โดยเกษตร
การติดตามสถานการณ์ของศัตรูพืชการติดตามสถานการณ์ของศัตรูพืช สำรวจ ตรวจนับศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ และส่วนของพืช ที่ถูกทำลายอย่างสม่ำเสมอ ติดตามความเคลื่อนไหวของสภาพดินฟ้าอากาศ การประเมินประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติในการ ควบคุมศัตรูพืช วิเคราะห์สถานการณ์ศัตรูพืช
อาการของพืช Symtom สภาพอากาศ สภาพพืช ปริมาณศัตรูธรรมชาติ (อัตราส่วน P:NE) การปฏิบัติของเกษตรกร วงจรชีวิตศัตรูพืช ลักษณะการทำลายของแมลง ข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจเพิ่มเติมจากที่เตยปฏิบัติ
การวิเคราะห์ระบบนิเวศน์การวิเคราะห์ระบบนิเวศน์ • รู้จักแมลงว่าทำอะไรในแปลง • รู้นิเวศวิทยา ด้วยการสำรวจ (ไม่ต้องใช้ตำรา ไม่ต้องการผู้เชี่ยวชาญ ใช้เพียงการสังเกต และความรู้เบื้องต้น) • ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ที่ยุ่งยากซับซ้อน • ได้ข้อมูลในการตัดสินใจปราบแมลงโดยไม่ต้องรอ
ชนิดแมลงตามหน้าที่ในระบบนิเวศฯชนิดแมลงตามหน้าที่ในระบบนิเวศฯ • ศัตรูพืช ตัวที่ทำลายพืช แมลงปากดูด แมลงปากกัด • ศัตรูธรรมชาติ ทำลายศัตรูพืช ตัวห้ำ ตัวเบียน จุลินทรีย์ • แมลงอื่นๆ ตัวที่ไม่เกี่ยวกับระบบนิเวศนั้นๆ เช่น แมลงที่บินมาเยี่ยมเยียนจากแปลงข้างๆ, แมลงที่มาอยู่อาศัย, แมลงที่เป็นตัวย่อยสลาย, แมลงบินมาเยี่ยม • พิสูจน์ได้จากการสำรวจสม่ำเสมอ หากไม่ใช่แมลงในระบบนิเวศน์จะไม่อยู่นาน • ทุกองค์ประกอบในระบบนิเวศน์มีความหมายทั้งสิ้น
สังคมของแมลง ศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ แมลง แมลงอื่นๆ
การจำแนกแมลงทางวิทยาศาสตร์การจำแนกแมลงทางวิทยาศาสตร์ • รู้ชื่อวิทยาศาสตร์ Genus species • ไม่เพียงพอที่จะปราบ • ต้องมี Key, อุปกรณ์, ต้องมีผู้รู้ยืนยัน • ใช้ตำรา ความจำ • ผู้รู้มีจำกัด ทำเป็นกลุ่มๆแมลง กว่าจะรู้ช้า อาจเสียหายก่อน • รู้จักแล้ว ก็ยังต้องหาวิธีปราบซึ่งอาจไม่ใช่นัก Taxonomy
เพื่อรู้จักชื่อ ต้องเรียน มี Key รู้วิชาการมาก/มีตำรา เพื่อการกำจัด ลงมือปฏิบัติ สำรวจ/ศึกษา/ทดสอบ ทำ insect zoo การจำแนกชนิดแมลง (identification)
ข้อเสียของการดูแมลงอย่างเดียวข้อเสียของการดูแมลงอย่างเดียว • พบแมลงอยู่ที่อาการผิดปกติ – ไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริง (แพะ) • แมลงคล้ายกันจากการดูด้วยตาเปล่า – เกิดการปรักปรำ • วินิจฉัยที่ลักษณะ ต้องมีความรู้มาก • - นักอนุกรมวิธาน • - นักกีฏวิทยาก็วินิจฉัยไม่ได้หมด • รู้จักชื่อ ก็ไม่สามารถกำจัดแมลงได้ • การกำจัดบางครั้งก็ดูที่พฤติกรรม ไม่ใช่ลักษณะ
การจำแนกโรคและแมลง • มีความหลากหลายมาก เป็นล้านชนิด • ลักษณะใกล้เคียงกัน หลายชนิดแตกต่างกันที่อวัยวะ หรือองค์ประกอบเล็กๆ ในอวัยวะ • มีขนาดเล็ก ต้องดูด้วยกล้อง จึงจะบอกได้ชัดเจนว่าเป็นชนิดไหน • ต้องมีความรู้พื้นฐานด้านแมลง และโรคอย่างดี • รู้แล้วก็ยังปราบไม่ได้ • ต้องมีบางอย่างที่เรายังรู้ไม่เพียงพอที่จะทำการกำจัด
การจำแนกชนิดแมลงเพื่อการกำจัดการจำแนกชนิดแมลงเพื่อการกำจัด จำแนกแมลงทุกชนิดในระบบนิเวศ จำแนกตามหน้าที่ในระบบนิเวศ • ศัตรูพืช • ศัตรูธรรมชาติ • แมลงอื่นๆ ตัดสินใจโดยใช้อัตราส่วนระหว่างศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ ไม่ได้ใช้ระดับ ETL ในการตัดสินใจ
IPM สู่การปฏิบัติจริง • ระดับ ETLที่ต้องมีมูลด้านเศรษฐกิจ ด้านอื่นๆ ไม่ใช่เลขตายตัว • ระดับที่ใช้สารเคมี • ไม่ได้พูดถึงอายุพืช • ไม่ได้พูดถึงสภาพอากาศ • ไม่ได้พูดถึงปัจจัยอื่นๆเลย • ที่สำคัญไม่ได้เคยคำนึงถึงศัตรูธรรมชาติที่เป็นการบริการฟรีจากธรรมชาติ • แปลงที่มีศัตรูพืช 100 ตัว มีศัตรูธรรมชาติ 40 ตัว • แปลงที่มีศัตรูพืช 50ตัว ไม่พบศัตรูธรรมชาติเลย
ระดับ ETL เป็นระดับเศรษฐกิจที่นับปริมาณศัตรูพืชเพื่อตัดสินใจพ่นสารเคมี - ไม่ได้ใช้ปัจจัยอื่นมาเกี่ยวข้อง เช่น ไม่ได้ใช้ปริมาณศัตรูธรรมชาติ ไม่ใช้อายุพืช ไม่ใช้สภาพอากาศ - การตัดสินใจดูที่ปริมาณศัตรูพืชเท่านั้น จึงทำให้มีการพ่นสารเคมีเกินสถานการจริง ศัตรูพืช 100 ตัว ศัตรูพืช 200 ตัว ศัตรูธรรมชาติ 100 ตัว ไม่พบศัตรูธรรมชาติ
การใช้ระดับเศรษฐกิจ • ระดับเศรษฐกิจ เป็นระดับที่ใช้จำนวนศัตรูพืชเป็นเกณฑ์ในการจัดการ • ข้อจำกัด ต้องรู้จักศัตรูพืชอย่างดี (มีแมลงหลายชนิดหน้าตา เหมือนกันแต่ไม่ใช่ศัตรูพืช) ต้องนับจำนวนให้ใกล้เคียงที่สุด (เพราะเป็นระดับที่ต้อง ใช้สารเคมี) ไม่ได้เอาปัจจัยอื่นๆมาช่วยในการตัดสินใจ (เช่นสภาพ อากาศ อายุพืช อายุศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ ฯลฯ.
พื้นฐาน IPM • - ปริมาณศัตรูพืชเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายปัจจัย • ปัจจัยเหล่านั้นเกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์กันในระบบนิเวศ • ปัจจัยต่างๆในระบบนิเวศ สัมพันธ์กับการปฏิบัติของเกษตรกร • ปริมาณศัตรูพืชจึงมีสาเหตุจากการปฏิบัติของเกษตรกรด้วย • การปฏิบัติ IPM สามารถลดปริมาณศัตรูพืชได้ • - ประกอบกับการจัดการ IPM จึงจะสามารถลดปริมาณ ศัตรูพืชได้ • - วิธีนำ IPM สู่การปฏิบัติของเกษตรกร เป็นความจำเป็นเร่งด่วน • - FFS เป็นกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่นำมาใช้
IPM based on Ecological concept • ทุกปัจจัยในระบบนิเวศมีความสำคัญ • ทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กัน • มีผลซึ่งกันและกัน • จึงต้องดูระบบนิเวศทั้งระบบเพื่อการตัดสินใจ • เช่นแมลงที่พบในระบบนิเวศมีความสำคัญต่อการตัดสินใจทุกตัว ทุกชนิด • แมลงที่ไม่ใช่แมลงในระบบนิเวศนั้น จะอยู่ไม่นาน จะอพยพออก • หากเป็นแมลงในระบบนิเวศจะอยู่นานและขยายพันธุ์ได้ • จึงต้องมีการสำรวจเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ระบบนิเวศเกษตร พลังงาน CO2 ผู้บริโภค O2 อินทรีย์วัตถุ ผู้ย่อยสลาย:จุลินทรีย์ น้ำ ธาตุอาหาร
แมลงระบาด Establish Exist Colonization (ยึดพื้นที่) (ตั้งรกราก =ระบาด) (อยู่ได้) แมลงแวะเยี่ยม แมลงหลงทาง แมลงอาศัยชั่วคราว
แมลงระบาด Establish Exist Colonization ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการระบาด พืช พันธุ์, อายุ, ความสมบูรณ์ความแข็งแรง แมลง ศัตรูพืช, ศัตรูธรรมชาติ, อื่นๆ สภาพแวดล้อม อากาศ ดิน น้ำ ธาตุ การปฏิบัติ ที่มีผลต่อช่วงเวลา ระบาด
ส่วนใหญ่เราจะดูตอน Establish ควรเปลี่ยนมาดูตอน Exist หรือ Colonization ข้อมูลที่เราคุ้นคือ - ข้อมูลเป็นส่วนๆ - การตัดสินใจจึงไม่ใช่เป็น ไอพีเอ็ม - ข้อมูลที่มีผลต่อปริมาณแมลงทั้งหมด ข้อมูลที่ใช้จริง - เพื่อหาความสัมพันธ์ / สถานการณ์ - จึงตัดสินใจ เลือกกำจัดด้วยวิธีไหน
จะต้องใช้หลายวิธีผสมผสานกัน ตามสถานการณ์ เขตกรรม ชีววิธี วิธีอื่นๆ วิธีกล เคมี วิธีฟิสิกส์
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี การใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูธรรมชาติของศัตรูพืช ได้แก่ ตัวห้ำ ตัวเบียน และเชื้อโรคไปควบคุมศัตรูพืช
ตัวห้ำ คือห้ำคือ สิ่งมีชีวิตที่กินศัตรูพืช เป็นอาหาร มักมีขนาดใหญ่ กว่าเหยื่อ ทำให้เหยื่อตาย อย่างรวดเร็ว
ตัวเบียน คือสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตอยู่ ด้วยการเบียดเบียนอยู่บน หรือในศัตรูพืชเพื่อการ เจริญเติบโตหรือดำรงอยู่ จนครบวงจรชีวิตทำให้ เหยื่ออ่อนแอและตายในที่สุด
จุลินทรีย์ (Micro – organism) คือ สิ่งมีชีวิตเล็กๆที่เป็นเชื้อโรคของศัตรูพืช ทำให้ศัตรูพืชเป็นโรคและตายในที่สุด
ชีววิธีสนับสนุนการผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษชีววิธีสนับสนุนการผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษ ทำงานได้ทันทีที่มีศัตรูพืช โดยไม่ต้องซื้อ ไม่ต้องจ้าง ไม่มีพิษ ไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ไม่เป็นอันตราย ขยายพันธุ์ มีชีวิตในแปลงได้นาน
วิธีสุดท้าย ในIPM คือการใช้ สารเคมี
วิธีที่เลือกต้องเหมาะสมต่อวิธีที่เลือกต้องเหมาะสมต่อ สถานการณ์ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การตลาด ต้องรวบรวม สำรวจ วิเคราะห์ โดยเกษตร
การติดตามสถานการณ์ของศัตรูพืชการติดตามสถานการณ์ของศัตรูพืช สำรวจ ตรวจนับศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ และส่วนของพืช ที่ถูกทำลายอย่างสม่ำเสมอ ติดตามความเคลื่อนไหวของสภาพดินฟ้าอากาศ การประเมินประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติในการ ควบคุมศัตรูพืช วิเคราะห์สถานการณ์ศัตรูพืช