660 likes | 809 Views
การลดภาษีสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนในกรอบต่างๆ : ค วามสามารถในการแข่งขันของไทย. Image by BOI Investment Review. ธราธร รัตนนฤมิตศร. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). 29 กันยายน 2008. ตลาดโลก. FTA. Export Market Access (AFTA, TAFTA, TNZFTA). Import Market Liberalization
E N D
การลดภาษีสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนในกรอบต่างๆ:ความสามารถในการแข่งขันของไทยการลดภาษีสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนในกรอบต่างๆ:ความสามารถในการแข่งขันของไทย Image by BOI Investment Review ธราธร รัตนนฤมิตศร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) 29 กันยายน 2008
ตลาดโลก FTA Export Market Access (AFTA, TAFTA, TNZFTA) Import Market Liberalization (AFTA, JTEPA,TAFTA, TNZFTA) อุตสาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วน ตลาดในประเทศ FDI/MNC ค่าจ้าง คุณภาพ แรงงาน โครงสร้าง พื้นฐาน กฎระเบียบ ต่างๆ อุตสาหกรรม สนับสนุน
(1) ทิศทางการเจรจาการค้า (2) การลดภาษีในกรอบต่างๆ และความสามารถในการแข่งขัน (3) นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย (4) นโยบายภาษียานยนต์ของไทยในอนาคต (5) โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการส่งออกของไทยปี 1990 และ 2005
อัตราการเติบโตเฉลี่ยของการส่งออกไทยระหว่างปี 1990-2005 (ร้อยละ)
โครงสร้างตลาดส่งออกรถยนต์สำเร็จรูปของไทยโครงสร้างตลาดส่งออกรถยนต์สำเร็จรูปของไทย
การส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ของไทยการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ของไทย
FDI สุทธิมายังประเทศไทย 1970-2006 ล้านบาท ญี่ปุ่นเป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในไทยโดยลงทุนส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรม ส่วนสิงคโปร์เป็นผู้ลงทุนหลักในภาคบริการ
FDI สุทธิจากญี่ปุ่นมาไทย 2006 ล้านเยน
ความสามารถในการแข่งขันความสามารถในการแข่งขัน
แรงงานและทรัพยากรมนุษย์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ ปริมาณ คุณภาพ ค่าจ้าง โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ IMD Doing business (WB) JTERO, JBIC ฯลฯ ความสามารถในการแข่งขันของไทย
ความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของไทย 2008 (IMD)
ความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของไทย 2008 (IMD)
ความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของไทย 2008 (IMD)
จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย: ด้านเศรษฐกิจโดยรวม
จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย: ด้านประสิทธิภาพของรัฐบาล
จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย: ด้านประสิทธิภาพของธุรกิจ
จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย: ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย 2008 21 JBIC (May, 2008)
ค่าจ้างวิศวกรเฉลี่ย 2008 22
ค่าจ้างผู้จัดการระดับกลางเฉลี่ย 2008 23
ค่าจ้างนักกฎหมายเฉลี่ย 2008 24
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 26
ความน่าลงทุน 27
จำนวนบริษัทญี่ปุ่นที่จะเสริมความแข็งแกร่ง/ขยายงานเพิ่มขึ้นจำนวนบริษัทญี่ปุ่นที่จะเสริมความแข็งแกร่ง/ขยายงานเพิ่มขึ้น JBIC (Nov, 2007)
จำนวนบริษัทญี่ปุ่นที่จะเสริมความแข็งแกร่ง/ขยายงานเพิ่มขึ้น“สาขายานยนต์” JBIC (Nov, 2007)
การขยายงานในประเทศต่างๆ ของบริษัทญี่ปุ่น: การผลิตและหรือการขาย JBIC (Nov, 2007)
การวางเครือข่ายการผลิตของประเทศญี่ปุ่นหลังการทำความตกลงการค้าเสรี (METI, 2007)
ปัญหาที่พบในการทำกำไรในประเทศไทย(อุตสาหกรรมโดยรวม)ปัญหาที่พบในการทำกำไรในประเทศไทย(อุตสาหกรรมโดยรวม)
ปัจจัยในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันปัจจัยในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
ความตกลงการค้าเสรีและความสามารถในการแข่งขันความตกลงการค้าเสรีและความสามารถในการแข่งขัน
ความตกลงการค้าเสรีไทย: ยานยนต์และชิ้นส่วน • MFN, JTEPA, AJCEP • MFN, GSP,JTEPA, AJCEP • MFN, EPA, AJCEP • MFN,GSP, EPA, AJCEP ASEAN (CEPT) TAFTA, TNZFTA
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (ROO) AJCEP อนุญาตให้สะสมมูลค่าในระหว่างอาเซียนได้
ยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่น รัฐบาลญี่ปุ่นมีนโยบายส่งเสริมการค้าโดยการทำความตกลง FTA และ EPA กับประเทศต่างๆ มากที่สุด ภาคเอกชนเป็นฝ่ายเลือกใช้ความตกลงที่เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง 43
อัตราการใช้สิทธิประโยชน์ AFTA และ TAFTA
การใช้ประโยชน์จาก EPA/FTA ของญี่ปุ่น 48
ทัศนคติของบริษัทญี่ปุ่นต่อผลของ EPA และ FTA ดัชนีมีค่า -2 ถึง 2 2 = ผลทางบวก -2 = ผลทางลบ 49 JETRO 2007
ยานยนต์และชิ้นส่วนภายใต้ JTEPA • การลดภาษียานยนต์และชิ้นส่วนตาม JTEPA • รถยนต์เกิน 3,000cc ลดภาษีแบบขั้นบันไดปีละ 5% จาก 80% เหลือ 75% ในปีแรก และลดลงจนถึง 60% และคงไว้จนกว่าจะมีการนำมาเจรจาใหม่ • รถยนต์ต่ำกว่า 3,000cc คงภาษีไว้ที่ 80% และนำมาเจรจาใหม่ในปีที่ 6 • ชิ้นส่วนยานยนต์ (OEM) • ภาษีมากกว่า 20%: ลดลงมาที่ 20% เป็นเวลา 5 ปี และเป็น 0% ในปีที่ 6 • ภาษีไม่เกิน 20%: คงภาษีไว้ และลดเป็น 0% ในปีที่ 6 • เครื่องยนต์และชิ้นส่วนเครื่องยนต์: คงภาษีไว้ และลดเป็น 0% ในปีที่ 8 • หากการลดภาษีใน AFTA มีผลหลัง 31 มี.ค. 2553 ก็ให้เลื่อนการยกเลิกภาษีออกไปเป็นหลังจากที่ AFTA มีผลแล้ว 1 ปีหรือ 3 ปีแล้วแต่สินค้า • ไทยนำเข้าชิ้นส่วนยานยนต์ที่ไทยยังไม่สามารถผลิตได้เป็นส่วนใหญ่ ความตกลง JTEPA ทำให้ผู้ประกอบรถยนต์สามารถเลือกนำเข้าชิ้นส่วน และเสียภาษีตามชิ้นส่วนนั้น ๆ ได้ โดยการลดภาษีชิ้นส่วนจากอัตราประมาณ 30% เหลือร้อยละ 20% ทำให้ผู้ประกอบการยานยนต์นำเข้าได้ถูกลง