110 likes | 321 Views
กลุ่มอ้วน. สถานการณ์ปัญหาภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน. ภาวะอ้วนลงพุง จังหวัดกำแพงเพชร. กระบวนการระดับจังหวัด. วิเคราะห์ปัญหาโรคอ้วน. สนับสนุนด้านวิชาการ สื่อ. คนกำแพงเพชร ไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี. ควบคุม กำกับ. ประกวดทีมพิชิตอ้วนพิชิตพุง และพี่เลี้ยง. ประกวดองค์กรไร้พุง DPAC.
E N D
สถานการณ์ปัญหาภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนสถานการณ์ปัญหาภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน
ภาวะอ้วนลงพุง จังหวัดกำแพงเพชร
กระบวนการระดับจังหวัดกระบวนการระดับจังหวัด • วิเคราะห์ปัญหาโรคอ้วน • สนับสนุนด้านวิชาการ สื่อ คนกำแพงเพชร ไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี • ควบคุม กำกับ • ประกวดทีมพิชิตอ้วนพิชิตพุง และพี่เลี้ยง • ประกวดองค์กรไร้พุง DPAC • สร้างกระแส แรงจูงใจ ทำให้เกิดเจ้าภาพหลัก • นิเทศ ติดตาม กำกับ
ระบบการติดตาม มิถุนายน กันยายน • นิเทศงานอำเภอ คนกำแพงเพชร ไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี รายงาน 21 แฟ้ม • ข้อมูลรอบเอว 25 กันยายน 25 พฤศจิกายน • แบบรายงานคลินิกไร้พุง
กระบวนการระดับอำเภอ • ชี้แจงงานสู่ระดับตำบล • พัฒนาศักยภาพองค์กรไร้พุง คลินิกไร้พุง แยกรายสถานบริการสาธารณสุข คนกำแพงเพชร ไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี • จัดทำข้อมูลรายงานรอบเอว 21 แฟ้ม • วิเคราะห์ข้อมูล วางแผนแก้ไขปัญหา • คัดเลือก ส่งประกวด (องค์กร DPAC ทีมพิชิตอ้วนฯ) • ควบคุม กำกับ สนับสนุน • ประเมิน รายงานผล(สสจ.กพ.)
กระบวนการดำเนินงานคลินิกไร้พุง DPAC หมู่บ้าน- เฝ้าระวังรอบเอวในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป - กลุ่มเป้าหมายที่รอบเอวเกินเกณฑ์ เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (แบบกลุ่ม) ภายใต้หมู่บ้านปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไร้พุง องค์กร- หน่วยงานราชการ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - โรงเรียน - สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่รอบเอวเกินเกณฑ์ เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพภายใต้องค์กรไร้พุง คลินิกในโรงพยาบาล - คลินิกผู้ป่วยนอก - คลินิกพิเศษ กรณี BMI≥40 กก./ตร.ม.ส่งต่อ รับการรักษารพ.กำแพงเพชร ประชาชน/ บุคลากรขององค์กร/ ผู้รับบริการในคลินิก1.มีรอบเอวเกินเกณฑ์ ไม่สามารถลดน้ำหนัก/ รอบเอว 2.มี BMI ตั้งแต่ 23 –39.9 กก./ตร.ม รพ.กำแพงเพชร - พบแพทย์เพื่อส่งต่อ รพ.เชี่ยวชาญเฉพาะโรค - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลักการ ๓ อ. คลินิกไร้พุง DPAC - ตกลงบริการ - ประเมินสภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ - แนะนำโปรแกรมการลดน้ำหนัก/ รอบเอว - ตั้งเป้าหมาย - รับการให้คำปรึกษารายบุคคล รายกลุ่มตามโปรแกรม 4 – 6 เดือน (ความรู้ ฝึกทักษะ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) ส่งต่อกลับ รพช. รพ.สต. ส่งต่อกลับพื้นที่ การติดตามประเมินผล - หนึ่งเดือนแรก ติดตามทุก สัปดาห์ 4 ครั้ง และ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน - เฝ้าระวังทุก 1 ปีโดยมี อสม.ดาวกระจายสลายพุง และบุคลากรสาธารณสุข ส่งต่อกลับพื้นที่ ปี 2555ผู้รับบริการ จำนวน 1,081 คน อยู่ระหว่าง รับบริการตามโปรแกรม ปี 2554ผู้รับบริการจำนวน 1,498 คน ลดน้ำหนักได้ จำนวน 948 ร้อยละ 63.35
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดตัวชี้วัดระดับจังหวัด เฝ้าระวังรอบเอว รพ.โภชนาการ องค์กรไร้พุง คลินิกไร้พุง DPAC ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 94 ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 71 องค์กรต้นแบบไร้พุง 22 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 2 แห่ง มี DPAC 100% ประชาชนเข้ารับบริการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถลดน้ำหนัก/ รอบเอวได้ รพท.ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีเด่น รพช.ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้น