360 likes | 556 Views
บทบาทพัฒนากรในการขับเคลื่อน “ นโยบายของรัฐ/กรม ”. สาโรจน์ นร ชัย ผู้อำนวยการสถาบันการพัฒนาผู้นำสตรี. 1. กรอบประเด็นการนำเสนอ. 1. นโยบายรัฐบาล/มหาดไทย. 2. ยุทธศาสตร์กรมฯ กับนโยบายรัฐบาล/มหาดไทย. 3. การดำเนินงาน ปี 56. 4. พัฒนากรจะบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร. นโยบายของรัฐบาล.
E N D
บทบาทพัฒนากรในการขับเคลื่อนบทบาทพัฒนากรในการขับเคลื่อน “ นโยบายของรัฐ/กรม” สาโรจน์ นรชัย ผู้อำนวยการสถาบันการพัฒนาผู้นำสตรี 1
กรอบประเด็นการนำเสนอ 1 นโยบายรัฐบาล/มหาดไทย 2 ยุทธศาสตร์กรมฯ กับนโยบายรัฐบาล/มหาดไทย 3 การดำเนินงาน ปี 56 4 พัฒนากรจะบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร
นโยบายของรัฐบาล นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก -สร้างความปรองดองสมานฉันท์ฯ ฟื้นฟูประชาธิปไตย -แก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด -ป้องกันและปราบปรามการทุจริต -ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ -สร้างสันติสุขสู่ชายแดนใต้ -ฟื้นฟูความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน -แก้ไขปัญหาภาวะเงินเฟ้อ -ยกระดับคุณภาพชีวิต -สร้างสมดุลระบบเศรษฐกิจมหภาค -ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน -ยกระดับสินค้าเกษตร เกษตรกรเข้าถึงแหล่งทุน -พัฒนาระบบประกันสุขภาพ -จัดหาคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้โรงเรียน -ผลักดันการปฏิรูปการเมืองแบบมีส่วนร่วม
นโยบายของรัฐบาล นโยบายที่จะดำเนินการในระยะ 4 ปี 1.ด้านความมั่นคงแห่งรัฐ 2.ด้านสร้างรายได้ 3.ด้านเศรษฐกิจ 4.ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต 5.ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6.ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 7.ด้านต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 8.ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกรมฯนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกรมฯ ข้อ 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก ข้อ 1.1.1 สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ และฟื้นฟูประชาธิปไตยฯ ข้อ 1.10.1 เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้าน อีกแห่งละ 1 ล้านบาท ข้อ 1.10.2 จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท ข้อ 1.13.2 การบริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ข้อ 2. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ ข้อ 2.1 เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์
นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกรมฯนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกรมฯ ข้อ 3. นโยบายเศรษฐกิจ ข้อ 3.1.2 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน ข้อ 4. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ข้อ 4.5.4 สนับสนุนบทบาทของสตรีไทยในการมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเสมอภาค ข้อ 8. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อ 8.1.2 เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ข้อ 8.1.8 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้องกับกรมนโยบายกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้องกับกรม ข้อ 6. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน และสนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ กลยุทธ์ : 6.1 พัฒนาศักยภาพแหล่งทุนในชุมชนให้ประชาชนเข้าถึง ข้อ 7. ยกระดับสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และเพิ่มช่องทางการตลาดเชิงรุกทั้งภายในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน กลยุทธ์ : ยกระดับสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และเพิ่มช่องทางการตลาด ข้อ 12. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินในทุกระดับ กลยุทธ์ : ส่งเสริมประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชนของตนเอง
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ 8
วิสัยทัศน์ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง กลไกการพัฒนา มีศักยภาพและ ขีดความสามารถ จัดการตนเองได้ การบริหารจัดการชุมชน เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ • เศรษฐกิจพอเพียง • ทุนชุมชน • มุ่งอนาคตร่วมกัน • พึ่งตนเอง • องค์กรบริหารการพัฒนา • แผนชุมชน • ข้อมูลเพื่อการพัฒนา ปรับตัวทันการเปลี่ยนแปลง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข • ผู้นำชุมชน • อาสาสมัคร • กลุ่ม/องค์กร • เครือข่าย เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองได้ KM, R&D, HRD, HRM, IT, Org.Cul., Marketing, upporting
ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ นโยบายรัฐบาล (แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๑.๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนสินเชื่อรายย่อย ๑.๑๐.๑ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ ๑ ล้านบาท ๑.๑๐.๒ จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ล้านบาท ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๑ การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๑.๑๓.๒ บริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ ๓.ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๔.๕.๔ สนับสนุนบทบาทของสตรีไทยในการมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเสมอภาค ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ๘.๑.๒ เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ๕.เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ๘.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ
ความเชื่อมโยงนโยบายมหาดไทยกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ นโยบายกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ กรอบภารกิจที่ 6 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงเหล่งทุน และสนับสนุนการ ดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ กลยุทธ์ : 6.1 พัฒนาศักยภาพแหล่งทุนในชุมชนให้ประชาชนเข้าถึง ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน กรอบภารกิจที่ 7 : ยกระดับสินค้าหนึงตำบล หนึงผลิตภัณฑ์ และเพิ่ม ช่องทางการตลาดเชิงรุกทั้งภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน กลยุทธ์ : ยกระดับสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และเพิ่มช่องทาง การตลาด ๓.ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภารกิจสำคัญที่ 12 : ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหาร ราชการแผ่นดินในทุกระดับ กลยุทธ์ : ส่งเสริมประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน ของตนเอง ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมกรมการพัฒนาชุมชนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน
โครงการและกิจกรรมสำคัญในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และงบประมาณปี 2556 กรมการพัฒนาชุมชน โดย นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน 5 ตุลาคม 2555
ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2555-2559 วิสัยทัศน์ : ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง เป้าหมาย ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง 5. การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง พันธกิจ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม และการเรียนรู้ พัฒนาระบบบริหารจัดการชุมชน พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชน 1. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข 4. เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและความมั่นคงของ ทุนชุมชน 2. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 21 21
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ 22
ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ผลผลิตที่ ๑ เสริมสร้างขีดความสามารถของพลังชุมชนในการจัดการและแก้ไขปัญหาของชุมชน ผลผลิตที่ ๒ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความมั่นคง เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน ๑. พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน จำนวน ๑๐,๕๐๐ คน 2. สนับสนุนแผนชุมชนบรรจุในแผนท้องถิ่น ๒๘,๕๐๐ แผนชุมชน 3. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ 904 แห่ง - เก็บ ข้อมูล จปฐ. 8,400,000 ครัวเรือน - เก็บข้อมูล กชช.2ค 71,000 หมู่บ้าน - พัฒนาครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ๒๓,๐๐๐ ครัวเรือน - ชี้เป้าชีวิต - จัดทำเข็มทิศชีวิต - บริหารจัดการชีวิต - ดูแลชีวิต พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕,๐๐๐ กองทุน ให้สามารถบริการเงินทุนในการประกอบอาชีพ จัดสวัสดิการชุมชน และแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ - การเพิ่มช่องทางการตลาด - OTOP Midyear - OTOP City - เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพด้านการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และการจัดการทุน - OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน - OTOP ภูมิภาค - OTOP เชิงรุก ได้แก่ OTOP Network Matching, OTOP Mobile to the Factory and Festival, OTOP to The department Store. - หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว ๑. ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๘๗๘ หมู่บ้าน 2. รักษาสภาพหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เดิม๓,๖๗๑ หมู่บ้าน กิจกรรมการดำเนินงานตามผลผลิต ปี ๒๕๕๖ 24 24
ตัวชี้วัดงบประมาณ ผลผลิตที่ 1 เสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการและแก้ไขปัญหาชุมชน 1 จำนวนแผนชุมชนที่ได้รับการบรรจุในแผนการพัฒนาระดับท้องถิ่น 28,500 แผนชุมชน 2 จำนวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 23,000 ครัวเรือน 3 จำนวนชุมชนที่มีการพัฒนาศักยภาพชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4,549 ชุมชน 4 จำนวนชุมชนที่ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทุนชุมชน 5,000ชุมชน ผลผลิตที่ 2 ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคง 5 จำนวนกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ได้รับการพัฒนาการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน 4,000กลุ่ม 6 จำนวนการส่งเสริมช่องทางการตลาด 3 ครั้ง
การบริหารงบประมาณปี 2556 กำหนดปฏิทินการทำงาน ตามไตรมาสเป็น 2:7:3 เตรียมคน/งาน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน (ธ.ค.-พ.ย.55) ลงมือทำงาน 7 เดือน (ธ.ค. 55 – มิ.ย.56) ติดตามสรุปผลการทำงาน 3 เดือน ( ก.ค. – ก.ย.56)
ปฏิทินการทำงานปี 2556 2 เดือน เตรียมการทำงาน ไตรมาส 1 (ต.ค. – พ.ย. 55) ผู้บริหารมอบนโยบาย จัดสรรงบประมาณ เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ (พิมพ์แบบ จปฐ. , กชช. 2ค ,หลักสูตรการฝึกอบรม/สัมมนา , แนวทางการ คัดสรรสุดยอด OTOP จังหวัด , เอกสารส่งเสริมสุขภาพกองทุนชุมชน , รถยนต์ , คอมพิวเตอร์) พัฒนาสมรรถนะข้าราชการ 2 หลักสูตร (นักบริหารจัดการชุมชน 11 รุ่น 880 คน , นักทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ 80 คน) เตรียมความพร้อม จนท.ดำเนินกิจกรรม/โครงการตามยุทธศาสตร์กรมฯ ระดับจังหวัด เตรียมความพร้อมผู้นำชุมชน (ผู้นำ อช. , ผู้นำสตรี , ศอช. , เครือข่าย OTOP , เครือข่ายกองทุนชุมชน) เตรียมกระบวนการรายงานผลการบริหารงบประมาณ
ปฏิทินการทำงานปี 2556 7 เดือน ลงมือทำงาน ไตรมาส 1 (พ.ย. – ธ.ค. 55) พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน 40 รุ่น 2,800 คน โครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ(กระบวนการชี้เป้าชีวิต) เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน 76 จังหวัด (พัฒนาต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 76 จังหวัด การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการทุนชุมชนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ คลังข้อมูลทุนชุมชน 1,516 หมู่บ้าน สนับสนุนศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 878 ศูนย์ OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 1 จุด OTOP ภูมิภาค 2 จุด
ปฏิทินการทำงานปี 2556 7 เดือน ลงมือทำงาน ไตรมาส 2 (ม.ค.– มี.ค. 56) พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน 90 รุ่น 6,300 คน กิจกรรมครบรอบ 44 ปี โครงการพัฒนาผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน 76 จังหวัด พัฒนาขีดความสามารถองค์กรสตรีอำเภอ 878 อำเภอ กิจกรรมเสริมสร้างความสมานฉันท์ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล และการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 878 อำเภอ โครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ (กระบวนการจัดทำเข็มทิศชีวิตและ บริหารจัดการชีวิต) โครงการศิลปาชีพประทีปไทย OTOP ก้าวไกลด้วยพระบารมี OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 3 จุด OTOP ภูมิภาค 2 จุด OTOPCITY 2013
ปฏิทินการทำงานปี 2556 7 เดือน ลงมือทำงาน ไตรมาส 2 (ม.ค.– มี.ค. 56) พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 878 หมู่บ้าน รักษาและพัฒนาคุณภาพความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 3,671 หมู่บ้าน ส่งเสริมและพัฒนาต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน เสริมสร้างความเข้มแข็งสถาบันการเงินทุนชุมชน 76 แห่ง พัฒนาประสิทธิภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตจัดสวัสดิการ 5,000 กลุ่ม สนับสนุนการดำเนินงาน กทบ. ระดับจังหวัด 76 จังหวัด สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ กข.คจ. 76 จังหวัด เพิ่มประสิทธิภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ และด้านการผลิต พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนโดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด 800 ผลิตภัณฑ์ สร้างภาคีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น 76 จังหวัด
ปฏิทินการทำงานปี 2556 7 เดือน ลงมือทำงาน ไตรมาส 3 (เม.ย.– มิ.ย. 56) พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนหลักสูตรพื้นฐาน 20 รุ่น 1,400 คน , หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง 3 รุ่น 300 คน , หลักสูตรนวัตกรรม 1 รุ่น สนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนการปฏิบัติงานองค์กรสตรีในพื้นที่จังหวัด 76 จังหวัด สนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมของ ศอช.ต. 152 ตำบล กิจกรรมเสริมสร้างความสมานฉันท์ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 878 อำเภอ การนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบทระดับตำบล 6,810 ตำบล 76 จังหวัด จัดเก็บและบันทึกข้อมูล กชช. 2ค 71,000 หมู่บ้าน โครงการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ (กระบวนการดูแลชีวิต) พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ(ต่อเนื่อง) รักษาและพัฒนาคุณภาพความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (ต่อเนื่อง)
ปฏิทินการทำงานปี 2556 7 เดือน ลงมือทำงาน ไตรมาส 3 (เม.ย.– มิ.ย. 56) จัดการความรู้และขยายผลศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน 878 อำเภอ ส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 5,000 กลุ่ม ส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกองทุนโครงการ กข.คจ 3,400 กองทุน พัฒนาศักยภาพผลิตชุมชนโดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด 3,200 กลุ่ม/ผลิตภัณฑ์ (ต่อเนื่อง) การคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP เด่นของจังหวัด 76 จังหวัด การพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว 8 หมู่บ้าน พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น (ต่อเนื่อง) OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 3 จุด OTOP ภูมิภาค 1 จุด
ปฏิทินการทำงานปี 2556 3 เดือน ติดตามผลการดำเนินงาน ไตรมาส 4 (ก.ค.– ก.ย. 56) ติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานพัฒนาชุมชน OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 1 จุด OTOPMIDYEAR 2013
สรุปแนวทางการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนสรุปแนวทางการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน 1. งานนโยบาย • รวดเร็ว • ถูกต้อง 2. งานยุทธศาสตร์ • เป้าหมายชัดเจน • ปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้อง 3. งานประจำ • ปรับปรุง • พัฒนา • รักษา 34
พัฒนากร จะบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร ความรู้และความเข้าใจในนโยบายของกรม ความสามรถในการ คิดเชิงกลยุทธ์ ปรับนโยบายกับการ ทำงานในพื้นที่ (กิจกรรม) พัฒนากร ความเข้าใจใน ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย/ ตัวชี้วัดของกรมฯ การขับเคลื่อนงานในพื้นที่ ความสามารถในการ บูรณาการภารกิจของ กรมกับภารกิจของ จังหวัดและ ส่วนราชการอื่น ๆ ความสามรถในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของผู้นำชุมชน เครือข่าย ส่วนราชการ ภาคประชาชน เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง