520 likes | 634 Views
การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อการพัฒนาระบบราชการ. ณ ห้องมิ่งเมือง ชั้น 4 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ ถนนรองเมือง กรุงเทพฯ. วันศุกร์ ที่ 30 มกราคม 2552. หัวข้อ. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ที่มาของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
E N D
การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อการพัฒนาระบบราชการการใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อการพัฒนาระบบราชการ ณ ห้องมิ่งเมือง ชั้น 4 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ ถนนรองเมือง กรุงเทพฯ วันศุกร์ ที่ 30 มกราคม 2552
หัวข้อ • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ที่มาของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) • องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) • การนำไปใช้- กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับส่วนราชการระดับกรมปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PublicSector Management Quality Award, PMQA) เป็นการนำกรอบการดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546รวมทั้งหลักเกณฑ์ และแนวคิดของรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และ Thailand Quality Award (TQA)มาศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาเป็นเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และนำเกณฑ์ดังกล่าวไปส่งเสริมให้ส่วนราชการใช้ในการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการดำเนินงาน ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลักในการสร้างความเป็นเลิศในระบบราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาระบบราชการของแผน การบริหารราชการแผ่นดิน(2546-2550)
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้อง กับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัด-ฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
ที่มาของ PMQA พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - 2550) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย
เหตุผลที่นำ PMQA มาใช้ เกณฑ์ PMQAมุ่งเน้นแนวทางการบริหารจัดการในทิศทางที่เป็นเลิศเช่นเดียวกับหน่วยงานภาครัฐในประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย คำนึงถึงสังคมและประโยชน์ของประชาชน ให้อิสรภาพแก่องค์กรในการเลือกใช้วิธีการต่างๆที่นำไปสู่ความเป็นเลิศโดยไม่จำเป็นต้องเหมือนกับของคนอื่น พิสูจน์ความสำเร็จโดยดูจากผลลัพธ์และข้อมูล สนับสนุนการเรียนรู้และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐ อะไรคือ ความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐ ประชาชนได้รับการบริการ/ดูแลอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิผล พันธกิจที่ได้รับมอบหมายสามารถบรรลุได้อย่างมีประสิทธิผล การดำเนินการของภาครัฐที่มีประสิทธิภาพสูง รวดเร็ว โปร่งใส การใช้จ่ายงบประมาณมีประสิทธิภาพสูง คุ้มค่า มีผลิตภาพสูง ประเทศชาติมีความมั่นคง และศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น
สรุปเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสรุปเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์การ ดำเนินการ 1. การนำองค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะ องค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมู และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับ สนุนและ สร้างความพึงพอใจแก่บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ • ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน • ผด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก • ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดี พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม • ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ • ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) • ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ทำไมต้องปรับปรุงการบริหารองค์กรภาครัฐทำไมต้องปรับปรุงการบริหารองค์กรภาครัฐ ภาครัฐเป็นหนึ่งในหัวรถจักรหลักที่นำพาความเจริญมาสู่ประเทศชาติ ความคาดหวังของประชาชนเจ้าของประเทศที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่รวดเร็ว การแข่งขันระหว่างประเทศทวีความรุนแรงมากขึ้น โลกาภิวัตน์ กฎหมาย/ข้อตกลงระหว่างประเทศ การเปิดเสรี ตลอดจนการรวมเป็นกลุ่มของประเทศต่างๆ
ที่มาของ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level, FL)
Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) No ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ สมัครเข้ารับรางวัล PMQA
PMQA คืออะไร? เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐองค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระบบการประเมิน PMQA/TQA Framework System • ตัวชี้วัด • แผนการปรับปรุง Instrument
เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการ ประสิทธิผลระบบราชการ PMQA
PMQA ส่วนราชการ
ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เกณฑ์ PMQA ? เกณฑ์ PMQAมีความซับซ้อนเข้าใจยาก ไม่รู้จะเริ่มต้นตรงไหน เขียนแล้วแก้ แก้แล้วเขียน ไม่รู้เขียนอย่างไรให้ถูกใจคนอ่าน คนในหน่วยงานมีมาก ไม่สามารถบูรณาการได้ ไม่มีผลลัพธ์และข้อมูลที่จะนำมาตอบ ควรปรับปรุงอะไรก่อน? ระบบงานหรือข้อมูล ไม่รู้จะปรับปรุงอย่างไรให้ดีขึ้น
แผนการดำเนินงานระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2547 – 2550) ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 • ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือกตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • อบรมคณะทำงาน Working Team ของส่วนราชการที่เลือกดำเนินการ • สร้างส่วนราชการนำร่อง • ให้คำปรึกษาและติดตามผลของกรมนำร่อง • สร้างวิทยากรที่ปรึกษา • สร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล • ปรับปรุงเกณฑ์ฯ • ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • อบรมคณะทำงาน Working Team ของทุกส่วนราชการ • ส่งเสริมส่วนราชการเข้าสู่ Fast Track • บริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา • ศึกษาและพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • จัดทำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • สร้างความรู้ ความเข้าใจให้ส่วนราชการต่าง ๆ • สร้างผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร • สร้างวิทยากรตัวคูณ • สร้างกรมนำร่อง
A C P D
แนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน มุ่งเน้นให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล
เป้าหมายของ PMQA(ใหม่) เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบบริการสาธารณะ ซึ่งอาศัยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ กำหนดแนวทางและวิธีการ การนำไปปฏิบัติและติดตามประเมินผล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน บูรณาการ และการสร้างนวัตกรรม โดยเฉพาะการเทียบเคียงขีดสมรรถนะ (Benchmarking) กับภาคเอกชน หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า หรือนำกรณีการปฏิบัติงานที่มีความเป็นเลิศ (Best Practices) มาเป็นแบบอย่าง
1.Continuous improvements 2.Breakthroughs 3.Standardization Continuous improvements Breakthroughs Standardization
องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐองค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA/TQA • ระบบการพัฒนา • ปรับระบบพื้นฐาน • ระบบการประเมิน Framework System • เครื่องมือ • หมอองค์กร • เครือข่าย • การเรียนรู้ • Benchmarking • ตัวชี้วัด • แผนการปรับปรุง Instrument
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวดรวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) “ระดับพื้นฐาน” หมายถึงกระบวนการเริ่มได้ผล • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน โดยสรุป มีแนวทาง (มีระบบ) มีการนำไปใช้จริง เริ่มเกิดผล มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา มีความก้าวหน้า เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ
การนำไปใช้ ส่วนราชการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา (OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้อง โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจน ดำเนินการปรับปรุงตามแผน วัดผลการปรับปรุง
แผนการดำเนินงานระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2551 – 2552) ปี 2551 ปี 2552 • ส่งเสริมและผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • อบรมการเขียนรายงานและ เครื่องมือต่างๆ • พัฒนากลไกการบริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา • ขยายการสร้างวิทยากรตัวคูณและหมอองค์กร • สร้างมาตรฐานการบริหารตามแนวทาง PMQA • พัฒนากลไกการส่งเสริมให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ(PMQA Promotion Program) • ส่วนราชการสามารถดำเนินงานตาม Improvement Plan ที่จัดทำไว้ • การจัดทำ Benchmark Database
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12, 13,16) การนำองค์กร (มาตรา8,9, 12,16,18,20,23, 27,28,43,44,46) ผลลัพธ์ การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39)
เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนาองค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
ระดับกรม อุดมศึกษา ระดับจังหวัด
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level 6 สถาบันอุดมศึกษา 4 5 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level)
กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดกรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2551 2549 2550 • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร • น้ำหนักร้อยละ 22 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แนวทางการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การส่งมอบงาน
แนวทางการวัดระดับความสำเร็จของการนำระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐไปใช้กับส่วนราชการ การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ส่วนราชการทุกแห่งจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2เป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นภาคสมัครใจ สำหรับส่วนราชการที่สามารถยกระดับคุณภาพการบริหารสูงกว่าระดับพื้นฐานและมีแนวทางการดำเนินการที่ดีจนประสบผลลัพธ์ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกการประเมินที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552