1 / 36

การพัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน

การพัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน. รัตติมา พานิชอนุรักษ์ ปัญญา หาแก้ว นิพล อินนอก. กรอบเนื้อหาที่นำเสนอ. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน บทบาทของประชาคมอาเซียน. บทบาททางการศึกษาของประชาคมอาเซียน กลไกการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนศึกษา

linh
Download Presentation

การพัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาการพัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน รัตติมา พานิชอนุรักษ์ ปัญญา หาแก้ว นิพล อินนอก

  2. กรอบเนื้อหาที่นำเสนอ • ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน • กฎบัตรอาเซียน • ประชาคมอาเซียน • บทบาทของประชาคมอาเซียน

  3. บทบาททางการศึกษาของประชาคมอาเซียนบทบาททางการศึกษาของประชาคมอาเซียน • กลไกการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนศึกษา • รูปแบบการจัดการศึกษาของประเทศสมาชิก อาเซียน • การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • นโยบาย • การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา • รูปแบบการพัฒนาบุคลากร • ภาพความสำเร็จ

  4. กำเนิดอาเซียน เกิดจากความพยายาม ของ 5 ประเทศ คือ 1) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 2) มาเลเซีย 3) สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 4) สาธารณรัฐสิงคโปร์ 5) ราชอาณาจักรไทย โดยได้มีข้อตกลงร่วมกัน เรียกว่า “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (TheBangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 วัตถุประสงค์ในการรวมตัวครั้งแรกเพื่อ ความมั่นคงของภูมิภาคป้องกันการคุมคามจากคอมมิวนิสต์

  5. ความก้าวหน้าสมาชิกอาเซียนความก้าวหน้าสมาชิกอาเซียน บรูไน ดารุสซาลาม เมื่อ 8 มกราคม 2527 เวียดนาม เมื่อ 28 กรกฎาคม 2538 ลาว พม่า เมื่อ 23 กรกฎาคม 2540 กัมพูชา เมื่อ 30 กรกฎาคม 2542

  6. ประชาคมอาเซียน อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNationหรือ ASEAN) มีสมาชิก 10 ประเทศ ประกอบด้วย1) บรูไนดารุซาลาม 2) ราชอาณาจักรกัมพูชา 3) สาธารณรัฐอินโดนีเชีย 4) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5) มาเลเซีย 6) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 7) สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 8) สาธารณรัฐสิงคโปร์ 9) ราชอาณาจักรไทย 10) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

  7. ปฏิญญาอาเซียน(The ASEAN Declaration ) รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศอาเซียน ลงนามร่วมกัน 8 สิงหาคม 2510 1.เร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและ การพัฒนาวัฒนธรรมในภูมิภาค 2.ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพหลักความยุติธรรม และนิติธรรมในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคตลอดจนยึดมั่นใน หลักการแห่งกฎบัตรสหประชาชาติ

  8. One vision One identity One Community ASEAN คำขวัญ :หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม สัญลักษณ์ : รวงข้าวสีเหลือง 10 รวง มัดรวมกัน หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน รวงข้าว แสดงถึงความฝันของผู้ก่อตั้งอาเซียนทุกประเทศผูกพันในมิตรภาพและความสามัคคี วงกลม หมายถึง ความเป็นเอกภาพของอาเซียน

  9. ธงอาเซียน สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลืองหมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง

  10. วิสัยทัศน์อาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) กำหนดเป้าหมายหลัก 4 ประการ เพื่อมุ่งพัฒนาอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน” ASEAN Community: ภายในปี 2563 1.วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2.หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต 3.มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก 4.ชุมชนแห่งสังคมเอื้ออาทร

  11. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียนความรู้เกี่ยวกับอาเซียน เพลงประจำอาเซียน The ASEAN Way เพลงวิถีแห่งอาเซียน สำนักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตังอยู่ที่กรุงจากาตาร์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เลขาธิการ : ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

  12. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ซึ่งจะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคลเป็นการวางกรอบกฎหมาย โครงสร้าง ค่านิยมหลักการและแนวปฏิบัติในอดีตมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติสำหรับสมาชิกแล้วยังปรับปรุง แก้ไข และสร้างกลไกใหม่ขึ้น พร้อมกับกำหนดขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบขององค์กรสำคัญในอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยข้อบทบัญญัติ 13 บท 55 ข้อ วัตถุประสงค์ เพื่อ ทำให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เคารพกติกาในการทำงาน มีผลบังคับใช้ เมื่อ 15 ธันวาคม 2551

  13. ความร่วมมือของประชาคมอาเซียนความร่วมมือของประชาคมอาเซียน 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน (Three Pillars of ASEAN Community) เสาที่ 1 ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคนี้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ แก้ไขข้อขัดแย้ง มีเสถียรภาพ รอบด้าน เพื่อประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง เสาที่ 2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวก ในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่งแข่งขัน กับภูมิภาคอื่นได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน เสาที่ 3 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิด สังคมเอื้ออาทร มีสวัสดีการที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม

  14. บทบาททางการศึกษาของประชาคมอาเซียนบทบาททางการศึกษาของประชาคมอาเซียน บทบาทของภาคการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียน 1.บทบาทของภาคการศึกษาในเสาการเมืองและความมั่นคง -หลักสูตรอาเซียน -เผยแพร่กฎบัตรอาเซียนที่แปลเป็นภาษาต่างๆ -ฝึกอบรม แลกเปลี่ยน ศึกษาดูงาน -สร้างศักยภาพและเครือข่าย 2.บทบาทของภาคการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ -พัฒนากรอบทักษะภายในประเทศ -สนับสนุนการขับเคลื่อนนักเรียน -สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงาน -ปรับปรุงมาตรฐานด้านการศึกษาและวิชาชีพ -สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคและระดับโลก

  15. 3.บทบาทของภาคการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนาธรรม3.บทบาทของภาคการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนาธรรม -พัฒนาเนื้อหาสาระร่วมในเรื่องอาเซียน -ฝึกอบรม พัฒนาการสอนของครู -หลักสูตรปริญญาตรีด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียน -มีภาษาประจำชาติอาเซียน -ประชุมสุดยอดเยาวชน นักศึกษา -โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษา -บูรณาการโครงการให้อยู่ในหลักสูตรสถานศึกษา

  16. การปรับตัวเชิงโครงสร้าง เพื่อให้ความร่วมมือด้านต่างๆให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น จัดตั้ง ASEAN Committee on Education(ASCOE) พัฒนามาตรฐานการศึกษาไปสู่ความเป็นนานาชาติและ World Class University จัดทำข้อตกลงในการพัฒนาการศึกษา เช่น พัฒนาหลักสูตร พัฒนาสถาบัน การศึกษาร่วมกัน จัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ฯลฯ กลไกในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน

  17. รูปแบบการจัดการศึกษาของอาเซียนรูปแบบการจัดการศึกษาของอาเซียน บรูไน ดารูสซาลาม แบ่งการศึกษาระดับ -ก่อนประถมศึกษา 1 ปี -ระดับประถมศึกษา 6 ปี -ระดับมัธยมศึกษา 7-8 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 2-3 ปี -ระดับมหาวิทยาลับ 3-4 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  18. ราชอาณาจักรกัมพูชา แบ่งการศึกษาระดับ -ก่อนประถมศึกษา 3 ปี -ระดับประถมศึกษา 6 ปี -ระดับมัธยมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี -ระดับมหาวิทยาลับ 4-7 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชนและกีฬา

  19. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย มีรูปแบบที่หลากหลาย การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 ปี -ระดับประถมศึกษา 6 ปี -มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี -มัธยมศึกษาตอนปลาย3 ปี ระดับอุดมศึกษา -ปริญญาตรี3-4 ปี -ปริญญาโท 2 ปี -ปริญญาเอก 3 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  20. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จัดการศึกษา -ระดับอนุบาลและก่อนวัยเรียนรับอายุตั้งแต่3-6 ปี -การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้รับผิดชอบกรมสามัญศึกษาใช้ระบบ 11 ปี 5:3:3 -ระดับประถมศึกษา 5 ปี การศึกษาภาคบังคับ -มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี -มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี การอุดมศึกษา หรือการศึกษาชั้นสูง การศึกษาด้านเทคนิคชั้นสูงและมหาวิทยาลัย กรมอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัยรับผิดชอบ สายอาชีพเรียน 3 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  21. มาเลเซีย แบ่งการศึกษา เป็น 5 ระดับ ระดับการเตรียมความพร้อม,ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา แยกเป็น -มัธยมศึกษาตอนต้น ปี 1-3 -มัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 4-5 ระดับอุดมศึกษา คือระดับที่สูงกว่ามัธยมแต่ไม่ถึงปริญญาตรี สามารถเรียนต่อปริญญาตรีได้ใช้เวลา 2 ปี แบ่งสถาบันการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือ สถาบันของรัฐและ สถาบันเอกชน หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  22. สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ แบ่งการศึกษาเป็นระบบ 5:4:2 -ระดับประถมศึกษา 5 ปี(อนุบาล1ปี ประถม 4 ปี) -มัธยมศึกษาตอนต้น 4 ปี -มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 ปี -ระดับอาชีวศึกษา 1-3 ปี -ระดับอุดมศึกษา 4-6 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  23. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ แบ่งการศึกษาระบบ -ระบบการศึกษาปฐมวัย -ระบบการศึกษาภาคบังคับ 6 ปี(7 ปีในเอกชน) -ระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี -การศึกษาหลังระดับมัธยมศึกษาหรืออาชีวศึกษาแบบ 1-3 ปี -ระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็น ปริญญาตรี โท เอกที่หลากหลายทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  24. สาธารณรัฐสิงคโปร์ การศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็น -การศึกษาภาคบังคับ 10 ปี -ระดับประถมศึกษา 6 ปี -ระดับมัธยมศึกษา 4 ปี -หลังมัธยมศึกษาสามารถเรียน -ต่อสายวิชาชีพ -เตรียมอุดมศึกษาอีก 2 ปี -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2-3 ปี -ระดับอาชีวศึกษา 1-3 ปี -ระดับอุดมศึกษา 4-6 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  25. ราชอาณาจักรไทย การศึกษาของไทย 3 รูปแบบ ในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย การจัดการศึกษา 2 ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน -การศึกษาก่อนประถมศึกษา -การศึกษาระดับประถมศึกษา 6 ปี -การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี -การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย2 ปี ประเภทสามัญ และ ประเภทอาชีพ -ระดับอุดมศึกษา แบ่งเป็น -ระดับปริญญา -ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  26. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 1)การศึกษาก่อนประถมศึกษา -เลี้ยงดูเด็ก,อนุบาล 2)การศึกษาสายสามัญ(5:4:3) -การศึกษาภาคบังคับ 5 ปี ชั้น 1-5 -การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้น 6-9 -การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายชั้น10-12 3)การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีพ 4)การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งเป็น5)การศึกษาระดับต่อเนื่อง หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทรวงศึกษาธิการ

  27. นโยบายเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนโยบายเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นโยบายที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและเจตคติ นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษาและประชาชน นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษา นโยบายที่ 4 การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน นโยบายที่ 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากรสำคัญในกาก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

  28. การดำเนินการด้านการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนการดำเนินการด้านการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน • การพัฒนามาตรฐานการศึกษา • การเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา • การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี

  29. ความหมาย แนวคิด ทฤษฎีและรูปแบบการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา

  30. เพิ่มพูนความรู้ สนองความต้องการเพื่อความก้าวหน้า สร้างขวัญกำลังใจ ลดความสูญเสียต่อตัวบุคคล เกิดความเข้าใจในเหตุผล เพิ่มผลผลิตต่อองค์กร ประหยัด ลดความสินเปลือง แบ่งภาระผู้บังคับบัญชา ลดความสูญเสียอันเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ พัฒนาความเข้าใจ ลดความขัดแย้ง สร้างความพึงพอใจ เตรียมบุคลากรสำหรับรองรับงานงานที่ขยายขึ้น การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา

  31. รูปแบบการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการพัฒนาบุคลากร • การพัฒนาบุคลากรมีหลายรูปแบบ แบ่งเป็น 2 ประเภท • องค์กรเป็นผู้ดำเนินการ • บุคลากรเป็นผู้ปฏิบัติเอง • การพัฒนาบุคลากรเพื่อปฏิรูปกาเรียนรูป • เพื่อให้เกิดความตระหนัก • เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ • เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงาน • เพื่อขยายเครือข่ายการทำงาน

  32. บุคลากรทุกคนต้องเกิดความตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจบุคลากรทุกคนต้องเกิดความตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจ ต้องดำเนินงานอย่างเป็นระบบ สอดคล้อง ทำให้เห็นประโยชน์ที่เกิดขึ้น วิธีการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา จัดแหล่งเรียนรู้ จัดระบบการนิเทศภายใน ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรกล้าคิด กล้าทำกล้าตัดสินใจและมีเสรีภาพทางวิชาการ ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้ทำงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้และประสบการณ์ หลักในการพัฒนาบุคลากร

  33. แนวทางการพัฒนาบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการพัฒนาบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน • ด้านการพัฒนาผู้บริหาร • ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในกาจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน • ผู้บริหารมีศักยภาพและความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา • ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และทักษาการใช้ ICT • ผู้บริหารมีทักษะในการประสานภาคีเครือข่ายเพื่อความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ สู่ประชาคมอาเซียน • ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน • ผู้บริหารมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารกับภาคีเครือข่าย กลุ่มประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน

  34. แนวทางการพัฒนาบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการพัฒนาบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน • ด้านการพัฒนาครูผู้สอน • ครูผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน • ครูผู้สอนสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร • ครูผู้สอนใช้หนังสือ ตำราเรียนและสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการจัดการเรียนรู้ • ครูใช้สื่ออิเลคทรอนิคส์ • ครูสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการจัดการเรียนรู้ระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน • ครูใช้วิจัย สื่อ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

  35. ด้านการจัดการเรียนรู้สอดแทรกในแต่ละกลุ่มสาระด้านการจัดการเรียนรู้สอดแทรกในแต่ละกลุ่มสาระ ด้านการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้านการเรียนรู้โดยการจัดทำรายวิชาเพิ่มเติม การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร/พัฒนาผู้เรียน แนวทางการพัฒนาบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน

  36. ปลุกจิตสำนึก ปลุกเร้าให้เกิดศรัทธา ฝึกปฏิบัติการเป็นการลงมือปฏิบัติจริง ประสานเครือข่าย สร้างเครือข่าย ขยายผลงาน ยุทธศาสตร์และความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากร ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร • ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็น • สามารถปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการและระดับการพัฒนาขององค์กร • บุคลากรมีความพึงพอในและมีความสุขในการทำงาน

More Related