510 likes | 951 Views
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง. ไปราชการในราชอาณาจักร. บรรยายโดยนางพรจันทร์ สุริยา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดเชียงราย. พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
E N D
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร บรรยายโดยนางพรจันทร์ สุริยา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดเชียงราย
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 กันยายน 2553 มีผลใช้บังคับวันที่ 24 กันยายน 2553 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายใน การเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 มีนาคม 2554 มีผลบังคับใช้ 24 มีนาคม 2554
ขั้นตอนการใช้สิทธิ 1.อนุมัติให้เดินทาง 2. ยืมเงินราชการ 3. เดินทาง 4. อนุมัติเบิกค่าใช้จ่าย
ลักษณะการเดินทาง 1. ไปราชการชั่วคราว 2. ไปราชการประจำ 3.กลับภูมิลำเนา
เดินทางไปราชการชั่วคราวเดินทางไปราชการชั่วคราว • นอกที่ตั้งสำนักงาน • สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก • ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทน • ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทย • เดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ
สิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันได้รับ อนุมัติเดินทาง / ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า/หลังเสร็จสิ้น การปฏิบัติราชการ ตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติให้ลากิจ / พักผ่อน ต้องขออนุมัติ ระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราวค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว • เบี้ยเลี้ยงเดินทาง • ค่าเช่าที่พัก • ค่าพาหนะ • ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย • เนื่องในการเดินทางไปราชการ
การนับเวลาเพื่อคำนวณเบี้ยเลี้ยง (ม. 16) • ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ • กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน • กรณีเดินทางล่วงหน้าเนื่องจากลากิจ / พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ • กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจากลากิจ / พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
ค่าเบี้ยเลี้ยง (เหมาจ่าย) ในประเทศ
ค่าเช่าที่พัก (ม. 17) * จำเป็นต้องพักแรมเบิกค่าเช่าที่พักได้ 2 ลักษณะ 1. ลักษณะเหมาจ่าย 2. ลักษณะจ่ายจริง ห้ามเบิก กรณี * พักในยานพาหนะ * ทางราชการจัดที่พักให้ ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ ให้เบิกเพิ่มได้ตามความจำเป็น(ม.17 วรรคสอง)
ค่าเช่าที่พัก (ใหม่) • ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง และกรณีหัวหน้าคณะ ซึ่งระดับ 10 ขึ้นไปหรือ • ประเภทวิชาการ ทรงคุณวุฒิ ประเภทบริหาร สูง ตำรวจยศพลตำรวจตรีขึ้นไป • คงหลักเกณฑ์เดิม • หลักจ่ายจริง ระดับ 8 ลงมา หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน • ชำนาญการงาน อาวุโส ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการ • พิเศษ ประเภทอำนวยการ ต้นลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสมหรือ มีเหตุ • จำเป็น • กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง ให้เลือกเหมาจ่ายได้ • กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ให้เลือกเบิกค่าเช่าที่พักในลักษณะเดียวกัน • ทั้งคณะ
ค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกเหมาจ่ายค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกเหมาจ่าย
ค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกจ่ายจริงค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกจ่ายจริง
ค่าพาหนะ ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ (รับจ้าง) ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของของผู้เดินทาง นิยามพาหนะประจำทาง บริการทั่วไปประจำ เส้นทางแน่นอน ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน
ค่าพาหนะ (ต่อ) หลักปกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง เบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด * รถไฟ ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) เบิกได้เฉพาะ ซี 6 ขึ้นไป พันตำรวจโทขึ้นไป
ค่าพาหนะ (ต่อ) • ข้อยกเว้น • ไม่มีพาหนะประจำทาง • มีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์ราชการ • ใช้พาหนะอื่นได้ (พาหนะรับจ้างฯ) แต่ต้องชี้แจง เหตุผล ความจำเป็น
ค่าพาหนะประจำทางรถไฟ • รถไฟ ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) เบิกได้เฉพาะ ซี 6 ขึ้นไป * ซี 5 ซึ่งอยู่ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน จะมีสิทธิเพิ่มขึ้น
ค่าพาหนะรับจ้าง * ดำรงตำแหน่ง ระดับ 6 ขึ้นไป พันตำรวจโทขึ้นไป เบิกได้ในกรณี ดังนี้ • ไป-กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ทำงาน กับสถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะ • ภายในจังหวัดเดียวกัน ไม่กำหนดวงเงิน • ถ้าข้ามเขตจังหวัด • เขตติดต่อ หรือผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท • เขตต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท
ค่าพาหนะรับจ้าง (ต่อ) • ตำแหน่งระดับ 5 ลงมา จะเบิกตามกรณีข้างต้น ต้องมีสัมภาระ • ไป-กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พักกับสถานที่ปฏิบัติราชการ (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) ภายในจังหวัดเดียวกัน วันละไม่เกินสองเที่ยว • ภายในเขต กทม.
ค่าพาหนะรับจ้าง (Taxi) ทั่วไป : ชำนาญงาน , อาวุโส , ทักษะพิเศษ วิชาการ : ชำนาญการ, ชำนาญการพิเศษ, เชี่ยวชาญ, ผู้ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ต้น , สูง บริหาร : ต้น , สูง • ซี 5 ซึ่งอยู่ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานจะมีสิทธิเพิ่มขึ้น
พาหนะส่วนตัว • ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา • จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชย • อัตราเงินชดเชย • > รถยนต์ กม. ละ 4 บาท • > รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท • คำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง/ • หน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรอง
เครื่องบิน @ ระดับ 6 ขึ้นไป ชั้นประหยัด ระดับ 9ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ @ ระดับ 5 ลงมา กรณีมีความจำเป็นรีบด่วน เบิกได้ชั้นประหยัด @ ไม่เข้าหลักเกณฑ์ข้างต้นให้เบิกได้เทียบเท่า ภาคพื้นดินในระยะทางเดียวกัน
หลักฐานการเบิกค่าเครื่องบินหลักฐานการเบิกค่าเครื่องบิน • กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน • กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และ กากบัตรโดยสาร • กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt)
ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น เนื่องในการเดินทาง ไปราชการ นิยาม จำเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่าย ไม่อาจเดินทาง ถึงจุดหมายแต่ละช่วงที่เดินทาง ไม่มี ก.ม. ระเบียบ ข้อบังคับ กำหนดไว้เฉพาะ ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเนื้องานที่ปฏิบัติ
กรณีทำหน้าที่เลขานุการ (ม. 28) • ทำหน้าที่เลขานุการ หัวหน้าคณะระดับ 9 ขึ้นไป • จำเป็นต้องเดินทางพร้อมกัน = เบิกค่าพาหนะได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา = พักแรมที่เดียวกัน เบิกได้ตามสิทธิ/จ่ายจริงในอัตรา ต่ำสุดของที่พักนั้น แต่ไม่เกินสิทธิของผู้บังคับบัญชา • เลขานุการมีหลายคน เบิกตามอัตราข้างต้นได้เพียงคน เดียวนอกนั้นเบิกตามสิทธิ
หลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการ 1. มีกฎหมายอื่นกำหนดสิทธิไว้สูงกว่าระดับที่ กค. เทียบ ให้ใช้สิทธิใน ระดับตำแหน่งที่กฎหมายนั้นกำหนด 2. กค. เทียบตำแหน่งไว้เกินกว่า 1 ตำแหน่ง ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ 3. ตำแหน่งนอกเหนือจากที่ กค. ได้เทียบไว้แล้วให้อยู่ในดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ โดยคำนึงถึง ตำแหน่งหน้าที่ ปัจจุบัน คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และภารกิจที่ได้รับ มอบหมาย 4. หากต้องการเบิกสูงกว่าระดับที่ กค. ได้เทียบไว้ ให้ขอตกลงกับ กค.
การเทียบตำแหน่งเพื่อเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการการเทียบตำแหน่งเพื่อเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ยกเลิกหนังสือเทียบตำแหน่งเดิม และกำหนดขึ้นใหม่เป็น 2 ฉบับ 1. เทียบตำแหน่งสำหรับ - ข้าราชการการเมืองและข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง - พนักงานรัฐวิสาหกิจ - คณะสื่อมวลชน - ลูกจ้าง - พนักงานราชการ เวียนให้ส่วนราชการทราบแล้ว ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.6/ว 104 ลงวันที่ 22 กันยายน 2551
2. เทียบตำแหน่งสำหรับ - ข้าราชการส่วนท้องถิ่น - ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท้องถิ่น เวียนให้ส่วนราชการทราบแล้ว ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.6/ว 105 ลงวันที่ 22 กันยายน 2551
ลูกจ้าง • จ้างจากเงินงบประมาณ • ยกเว้น ชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง • เทียบตำแหน่ง 1. แรงงาน / กึ่งฝีมือ 2. ฝีมือ / ฝีมือพิเศษ ระดับต้น 3. ฝีมือพิเศษระดับกลาง สูง เฉพาะ • ลูกจ้างคนใดเคยมีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายเท่ากับซี 3 ก่อน 1 เม.ย. 35 • ให้มีสิทธิตามนั้น
พนักงานราชการ • กลุ่มงานบริการ / เทคนิค= ซี 1 – 2 • กลุ่มงานบริหารทั่วไป= ซี 3 – 8 • กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ / เชี่ยวชาญเฉพาะ= ซี 3 – 8 ยกเว้น ผู้ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด= ซี 9
การเดินทางไปราชการประจำการเดินทางไปราชการประจำ @ ประจำต่างสำนักงาน / รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการเพื่อดำรงตำแหน่งใหม่ ณ สำนักงานใหม่ @ ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน) @ ไปปฏิบัติงาน/ช่วยราชการมีกำหนดเวลา 1 ปีขึ้นไป @ ไปช่วยราชการที่ไม่อาจกำหนดเวลาสิ้นสุด/ไม่ถึง 1 ปี แต่สั่งให้อยู่ช่วยราชการต่อ เวลาที่ครบ 1 ปีขึ้นไป เป็นการเดินทางไปราชการประจำ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำ • เบี้ยเลี้ยงเดินทาง นับออกจากที่อยู่ถึงสถานที่พักแห่งใหม่ • ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว เบิกในลักษณะเหมาจ่าย • ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นฯ • ค่าเช่าที่พัก • ค่าพาหนะ
สิทธิในการเบิก ผู้เดินทาง บุคคลในครอบครัว คู่สมรส บุตร บิดามารดา (ของตนอง + คู่สมรส) ผู้ติดตาม ระดับ 6 ลงมา 1 คน ระดับ 7 ขึ้นไปไม่เกิน 2 คน * ไปประจำต่างสังกัด เบิกจากสังกัดใหม่
ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ กรณีไม่อาจเข้าบ้านพัก/บ้านเช่า เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน (เกิน ตกลงปลัดกระทรวง เจ้าสังกัดเดิม) ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา กรณีโอนย้ายต่างสังกัด • สังกัดเดิมอนุมัติ • สังกัดใหม่รับรองข้อเท็จจริง ไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน
*ค่าเช่าที่พัก + ค่าพาหนะ ของบุคคลในครอบครัว เบิกอัตราเดียวกับผู้เดินทางยกเว้นผู้ติดตาม • ผู้ติดตาม เบิกต่ำสุด • กรณีบุคคลในครอบครัวไม่เดินทาง • พร้อมผู้เดินทาง • ขออนุญาตผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง • อนุญาตให้เลื่อนการเดินทางได้แต่ต้องไม่เกิน 1 ปี
เดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม ภูมิลำเนาเดิม : ท้องที่เริ่มรับราชการ, กลับเข้ารับราชการใหม่ กรณีพิเศษ ท้องที่อื่นซึ่งมิใช่ภูมิลำเนาเดิม แต่มีค่าใช้จ่ายไม่สูงกว่า อธิบดี/ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ
ค่าใช้จ่ายเดินทาง กลับภูมิลำเนา 1 ค่าเช่าที่พัก 2 ค่าพาหนะ 3 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
สิทธิในการเบิก * ออกจากราชการ, เลิกจ้าง * ตาย สิทธิตกแก่ทายาทที่อยู่กับ ขรก.ขณะที่ตาย * ถูกสั่งพักราชการ โดยไม่รอผลสอบสวน * ใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น * เดินทางและขนย้ายภายใน 180 วัน นับแต่ออก, เลิกจ้าง, ตาย (ถ้าเกินตกลง กค.)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ ผู้เดินทางถึงแก่ความตายระหว่างเดินทางไปราชการ กรณีส่งศพกลับ ให้เบิกค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่น ได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินเส้นทาง ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย ท้องที่รับราชการ
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ (ต่อ) • ค่าพาหนะเดินทางไปปลงศพ ไป-กลับ (ไม่ส่งศพกลับ) - เบิกได้สำหรับคู่สมรส บุตร บิดา มารดาของผู้ตาย ไม่เกินสามคน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิของผู้ตาย เว้นแต่ ผู้เดินทางเป็นผู้มีสิทธิ เบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง สูงกว่าสิทธิของผู้ตาย ให้เบิกตามสิทธิของผู้นั้นไม่เกินเส้นทางท้องที่ที่รับราชการ ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย - ถ้าเบิกให้ผู้จัดการศพ เบิกได้เพียงคนเดียว
แบบ 8708 (ส่วนที่ 1) สัญญาเงินยืมเลขที่(1)วันที่ . ชื่อผู้ยืมจำนวนเงินบาท ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการที่ทำการ(2) ….. วันเดือน(3)พ.ศ. 2550 เรื่องขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เรียน(4) ตามคำสั่ง/บันทึกที่(5)ลงวันที่ . ได้อนุมัติให้ ข้าพเจ้า (6) ตำแหน่ง . สังกัดพร้อมด้วย (7) . เดินทางไปปฏิบัติราชการ(8) . โดยออกเดินทางจาก บ้านพัก สำนักงาน ประเทศไทยตั้งแต่วันที่เดือน , (9) พ.ศ.เวลาน. และกลับถึง บ้านพัก สำนักงาน ประเทศไทยวันที่เดือน (9) พ.ศ.เวลาน. รวมเวลาไปราชการครั้งนี้วันชั่วโมง ข้าพเจ้าขอเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการสำหรับข้าพเจ้าคณะเดินทางดังนี้ (10) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางประเภทจำนวนวัน รวมบาท ค่าเช่าที่พักประเภทจำนวนวัน รวมบาท ค่าพาหนะรวมบาท ค่าใช้จ่ายอื่นรวมบาท รวมทั้งสิ้นบาท จำนวนเงิน (ตัวอักษร) . ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายการที่กล่าวมาข้างต้นเป็นความจริง และหลักฐานการจ่ายที่ส่งมาด้วย จำนวน(11)ฉบับ รวมทั้งจำนวนเงินที่ขอเบิกถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ ลงชื่อผู้ขอรับเงิน ()
หลักฐานการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการแบบ8708 ส่วนที่2 ชื่อส่วนราชการ…...……………จังหวัด……........................... ประกอบใบเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทาง......................ลงวันที่……เดือน........ พ.ศ. ........ จำนวนเงินทั้งสิ้น(ตัวอักษร)(...(26)......................)ลงชื่อ...............(27)...........................ผู้จ่ายเงิน (.........................) ตำแหน่ง...................................... วันที่............................................ ชี้แจง 1.ค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าเช่าที่พักให้ระบุอัตราและจำนวนวันที่ขอเบิกของแต่ละบุคคลในช่องหมายเหตุ 2.ให้ผู้ยืมมีสิทธิแต่ละคนเป็นผู้ลงลานมือชื่อผู้รับเงินและวันเดือนปี กรณีเป็นการรับจากเงินยืม ให้ระบุวันทีที่ได้รับเงินจากเงินยืม 3.ผู้จ่ายเงินหมายถึงผู้ที่ขอยืมเงินจากทางราชการ และจ่ายเงินยืมนั้นให้แก่ผู้เดินทางแต่ละคน เป็นผู้ลงลายมือชื่อผู้จ่ายเงิน
เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการในประเทศเอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการในประเทศ
ขอบคุณและสวัสดี นางพรจันทร์ สุริยา นักวิชาการคลังชำนาญการ โทร. 0-5315-0176-7