1 / 25

บทที่ 5

บทที่ 5. แนวความคิดทางการเมืองของไทย 5.4 พระราชดำริทางการเมืองและสังคมของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ. 1. พระราชดำริทางการเมืองและสังคมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างไร ? 2. สถานภาพของพระมหากษัตริย์ที่มีต่อการเมือง สังคม และประชาชนชาวไทยเป็นอย่างไร ?

Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 แนวความคิดทางการเมืองของไทย 5.4 พระราชดำริทางการเมืองและสังคมของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

  2. คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบคำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ 1. พระราชดำริทางการเมืองและสังคมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างไร ? 2. สถานภาพของพระมหากษัตริย์ที่มีต่อการเมือง สังคม และประชาชนชาวไทยเป็นอย่างไร ? 3. แนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดอย่างไร อิงหลักธรรมอะไรบ้าง ?

  3. วัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิต 1. สามารถอธิบายพระราชดำริทางการเมืองและสังคมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ 2. สามารถอธิบายสถานภาพของพระมหากษัตริย์ที่มีต่อการเมือง สังคม และประชาชนชาวไทย 3. สามารถอธิบายแนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้

  4. พ.ศ.2470-ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจักรนฤบดินทรสยามมินทราธิราชบรมนาถบพิตร

  5. พระราชประวัติ พ.ศ. 2470 วันที่ 5 ธันวาคม เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสสาชูเซสท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2489 วันจันทร์ที่ 9 มิถุนายน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกระทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง

  6. สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ และครองราชย์มาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 57 ปี พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์กิติยากร ขึ้นเป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์

  7. พ.ศ. 2493 ในวันที่ 5 พฤษภาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม

  8. และในโอกาสนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี

  9. เทวราชา-ธรรมราชา

  10. รัฐธรรมนูญได้บัญญัติให้ทรงเปลี่ยนมาเป็นการใช้อำนาจผ่านตัวแทน 3 องค์กร คือ - อำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล - อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านทางรัฐสภา - อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาล

  11. ทรงมีความเป็นธรรมราชาอย่างเห็นได้ชัด เห็นได้จากระยะเวลา 50 ปี ที่ทรง ครองราชย์มา ได้ทรง ให้กำเนิดโครงการต่างๆ เพื่อคนไทยทั้งสิ้น

  12. พลังของแผ่นดิน

  13. ครูของแผ่นดิน

  14. ฝนพระราชทาน

  15. ทฤษฎีใหม่ : ไร่นาสวนผสม

  16. น้ำพระทัยพ่อ

  17. น้ำพระทัยพ่อ

  18. สรุป ตลอดระยะเวลา 60 ปีที่ผ่านมาพสกนิกรชาวไทยทั้งปวงตระหนักดีว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงเหน็ดเหนื่อยอ่อนล้าในการพระราชทานความช่วยเหลือบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่พสกนิกรของพระองค์แต่อย่างใด พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงยึดมั่นในทศพิธราชธรรม ทรงปฎิบัติพระองค์เป็นเยี่ยงอย่างในการพัฒนา ในแต่ละปีพระองค์ทรงอุทิศเวลาในการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วทุกภาคของประเทศ

  19. ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลกที่ทรงยอมตรากตรำพระวรกายเพื่อปวงประชาด้วยการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่อันยังประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั่วประเทศ อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวไทยและชาวต่างประเทศมาโดยตลอด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรเสมือนหนึ่งเป็นความทุกข์ของพระองค์ และที่สำคัญอย่างยิ่งคือมิได้ทรงนึกแต่เพียงว่าทรงเป็นประมุขของประเทศโดยทางนิตินัย หรือ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น

  20. แต่พระองค์ระลึกอยู่เสมอว่าพระองค์เป็นคนไทยคนหนึ่ง ที่จะต้องร่วมทุกข์ร่วมสุขกับคนไทยทั่วประเทศ และมีหน้าที่ที่จะต้องปกปักรักษาอธิปไตย และแผ่นดินไทยไว้อย่างสุดกำลังเหมือนอย่างคนไทยทั่วไป จึงทรงมีพระราชดำริที่จะพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรเหล่านี้ให้เกิดความ “พออยู่ พอกิน”

More Related