540 likes | 972 Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง “CEO Retreat (2005)” พัทลุง การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ทำคำรับรองกับผู้ว่าราชการจังหวัด. นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ พงศา ศีลบุตร ศิรินาฎ เจยาคม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. ภาคเช้า CEO retreat
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง“CEO Retreat (2005)”พัทลุงการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ทำคำรับรองกับผู้ว่าราชการจังหวัด นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ พงศา ศีลบุตร ศิรินาฎ เจยาคม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
ภาคเช้า • CEO retreat • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดพัทลุง • ภาคบ่าย • การปรับยุทธศาสตร์จังหวัด • การจัดทำ strategy Map • Value chain
World Class Benchmarking GAP Provincial Cluster Strategy Formulation แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ 1 แผนงานและโครงการ /งบประมาณ (Revised Strategic Initiatives) การทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และโครงการปีงบประมาณ 50-51 รองนายกรัฐมนตรี การพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง(CEO Retreat II ) คณะที่ปรึกษาจังหวัด 2 กระทรวง ทบวง กรม ข้อเสนอการปรับปรุงระบบการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า สมาคมต่างๆ CEO ฐานข้อมูล หน่วยงานกลาง สภาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 พัฒนาต้นแบบการบริหารกลุ่มจังหวัดที่มีศักยภาพในระดับนานาชาติ(3 กลุ่มจังหวัด) การบริหารราชการจังหวัด
Building Building Technology Clusters across USA
Building Building Technology Clusters across ITALY
Building Building Technology Clusters across Canada Source : National research Council Canada
Strategy & Process mapping end end โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ ขั้นตอนการทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด.... การวิเคราะห์และทบทวนยุทธศาสตร์ Pre workshop I : 21 - 22 ธ.ค. 48 Pre workshop II : 4 - 5 ม.ค. 49 Strategy Reformulation แผนงาน Benchmarking เสนอ ค.ร.ม. 6 ม.ค. 49 ประเด็นยุทธศาสตร์ การนำไปสู่การปฏิบัติ ระบบสนับสนุนต่าง ๆ Next step การติดตามประเมินผล
ตารางการวิเคราะห์ความแข็งแกร่งและโดดเด่นตารางการวิเคราะห์ความแข็งแกร่งและโดดเด่น ของแต่ละยุทธศาสตร์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคมกลุ่มจังหวัด 1.1 ตัวอย่าง ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ในด้านสังคม ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ Global Regional Local Potential 1 2 1 2 3 4 เกษตร OTOP การค้า ท่องเที่ยว ท่องเที่ยว การค้า โอกาสในการเติบโตของแต่ละยุทธศาสตร์ ผลกระทบทางสังคม (Social Impact) 5 6 7 8 3 4 เกษตร OTOP
กระบวนงาน (process)วิจัย ส่งเสริมการผลิต ตรวจสอบคุณภาพ บรรจุภัณฑ์ ขนส่ง ตลาด ตัวอย่าง ยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ :ข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก ผู้ที่เกี่ยวข้อง (stakeholders)จังหวัด ส่วนกลาง ท้องถิ่น เอกชน ฑูตซีอีโอ ผู้บริโภคในต่างประเทศ Strategy & Process mapping end end บูรณาการ โครงการ แผนงาน โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ Risk management Blueprint for Change
Value Chainข้าวไทย ตัวอย่าง เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผู้รับจ้าง ผู้ค้าวัตถุดิบ ปัจจัยการผลิต พ่อค้าตัวแทน ธนาคาร ผู้ค้า ผู้ส่งออก ผู้บริโภค ผู้ขนส่งและกระจายสินค้า โรงสี โรงงาน คลังสินค้า ธนาคาร การตลาด เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปข้าว การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อส่งออก กลยุทธ์ การตลาด ศูนย์ กระจาย สินค้า และ โลจิสติกส์ การ กระจาย สู่ผู้บริโภค การจัด ระเบียบ พื้นที่ ส่งเสริม การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับปรุง ดิน การบริหาร น้ำ การจัด การศัตรู พืช การเก็บ เกี่ยว การนวด ตลาด กลาง ข้าวเปลีอก ขายให้ โรงสี การ แปรสภาพ ข้าวสารและ ผลผลิตข้าว การ เก็บรักษา การ บริโภค ในประเทศ การขนส่ง การขนส่ง การขนส่ง สนับสนุนการใช้ความรู้และเทคโนโลยี พร้อมการบริหารปัจจัยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม การขับเคลื่อนโดยใช้การตลาดนำ การวิจัยและพัฒนา การเสริมสร้างบุคลากร และโครงสร้างสารสนเทศ
Value Chainข้าวไทย ตัวอย่าง เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผู้รับจ้าง ผู้ค้าวัตถุดิบ ปัจจัยการผลิต พ่อค้าตัวแทน ธนาคาร ผู้ค้า ผู้ส่งออก ผู้บริโภค ผู้ขนส่งและกระจายสินค้า โรงสี โรงงาน คลังสินค้า ธนาคาร การตลาด เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปข้าว การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อส่งออก กลยุทธ์ การตลาด ศูนย์ กระจาย สินค้า และ โลจิสติกส์ การ กระจาย สู่ผู้บริโภค การจัด ระเบียบ พื้นที่ ส่งเสริม การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับปรุง ดิน การบริหาร น้ำ การจัด การศัตรู พืช การเก็บ เกี่ยว การนวด ตลาด กลาง ข้าวเปลีอก ขายให้ โรงสี การ แปรสภาพ ข้าวสารและ ผลผลิตข้าว การ เก็บรักษา การ บริโภค ในประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตข้าว ส่งเสริม การแปรรูปข้าว ส่งเสริมการ วิจัยเพื่อ เพิ่มมูลค่าข้าว ส่งเสริมการสร้างตราสินค้าข้าวและ พัฒนากลไกตลาด พัฒนาระบบ เกษตรอินทรีย์ และ GAP วิจัยตลาด หาความต้องการ พัฒนาปัจจัยที่ ใช้ในการผลิตข้าว พัฒนาปัจจัยผลิต สำหรับเกษตรอินทรีย์ สนับสนุน การวิจัยพัฒนา การแปรรูป พัฒนา เมล็ดพันธ์ข้าว สนับสนุนให้มีผู้ประกอบการ ค้าส่งออกโดยตรง พัฒนาประสิทธิภาพ และเพิ่มจำนวนหน่วยที่ ออกมาตรฐาน ต่อยอดงานวิจัย ด้านการแปรรูป การจัดการพื้นที่ เพาะปลูกที่เหมาะสม ส่งเสริมการใช้ ผลผลิตจาก ข้าวเพื่อประหยัดพลังงาน พัฒนาระบบ ลอจิสติกส์ พัฒนา ระบบโครงสร้าง พื้นฐานเพื่ออุตฯแปรรูป พัฒนาเทคโนโลยี ที่ใช้ในการปลูกข้าว ส่งเสริมผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว เพื่อจำแนกชนิดพันธ์ ส่งเสริมการเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ จากข้าวที่ไม่ใช่ประเภทอาหาร ส่งเสริม ผู้ประกอบการใหม่ ส่งเสริมให้มีหน่วย งานภาครัฐเกี่ยวกับข้าว อยู่ในพท.กลุ่มจังหวัด ส่งเสริมการรับรู้ ของผู้บริโภค สร้างมาตรฐาน การรับรอง การจำแนกทาง ภูมิศาสตร์ การประชาสัมพันธ์ การวิจัยและพัฒนา การเสริมสร้างบุคลากร และโครงสร้างสารสนเทศ
Value Chainข้าวไทย ตัวอย่าง วิสัยทัศน์ : ศูนย์กลางธุรกิจข้าวชั้นนำของภูมิภาคเอเชีย (Rice Hub of Asia) การแปรรูปข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่ม การตลาด เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อส่งออก กลยุทธ์ การตลาด ศูนย์ กระจาย สินค้า และ โลจิสติกส์ การ กระจาย สู่ผู้บริโภค การจัด ระเบียบ พื้นที่ ส่งเสริม การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับปรุง ดิน การบริหาร น้ำ การจัด การศัตรู พืช การเก็บ เกี่ยว การนวด ตลาด กลาง ข้าวเปลีอก ขายให้ โรงสี การ แปรสภาพ ข้าวสารและ ผลผลิตข้าว การ เก็บรักษา การ บริโภค ในประเทศ โครงการต้นน้ำ โครงการกลางน้ำ โครงการปลายน้ำ โครงการตลาดข้าวไทยแกร่ง แข่งทั่วโลก โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเพิ่มมูลค่าข้าว โครงการการผลิตข้าวคุณภาพไทย จัดตั้งศูนย์การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ โครงการสร้างระบบฐานข้อมูลและภูมิสารสนเทศข้าว สถาบันวิจัยข้าวไทย
ประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดในปัจจุบัน 1.1 6.1 1. เกษตร 2. ท่องเที่ยว 3. การค้าการลงทุน 4. คุณภาพชีวิต 5. ระบบนิเวศน์ 1.ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สุขภาพ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม 2. การค้า การลงทุน การบริการ เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ 3. OTOP 4. เกษตร 1. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1.1 เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน 2. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2.1 พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ 2.2 นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 3.1 นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง 3.2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.1 ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี 4.2 เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 4.3 ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี 5. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 5.1 ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด 6. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน 6.1 อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย 6.2 มุกดาหาร สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ 6.3 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 7. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนล่าง 7.1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ 7.2 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง 8.3 ภูเก็ต พังงา กระบี่ 9. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 9.2 สงขลา สตูล รนม. สุวัจน์ลิปตพัลลภ รนม. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย 2.1 1. ศูนย์กลางการค้าและบริการเชื่อม East West Corridor 2. ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒธรรม เชิงนิเวศ 3. ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ น้ำ คุณภาพชีวิต 4. เกษตร อุตสาหกรรม 5. สร้างความเข้มแข็งคนยากจน 6.2 1. คุณภาพชีวิต 2. ท่องเที่ยว 3. ค้าชายแดน 4. อุตสาหกรรมเกษตร 6.3 1.ข้าวหอมมะลิ 2.เกษตร 3.Logistics 4.ท่องเที่ยว 5. พืชพลังงาน 6.OTOP 7.IT 8. ทุนมนุษย์ 9. การค้าการลงทุน รนม. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย 2.2 1.พัฒนาทรัพยากร มนุษย์ 2.Rice Hub 3.ท่องเที่ยว 4.แก้ปัญหา ระบบน้ำ 6.2 รนม. วิษณุ เครืองาม 7.2 1. ประตูการค้า 2. ข้าวหอมมะลิ 3. เกษตรแปรรูป 4. คุณภาพชีวิต 5. บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ 6. ความมั่นคง 3.2 1.เกษตร 2.คุณภาพชีวิต 3.ท่องเที่ยว 3.อุตสาหกรรม 5.ศูนย์คมนาคม รนม. สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 7.1 1.เกษตรแปรูป 2.ไหม 3.ท่องเที่ยว รนม. สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 3.1 1. การค้า 2.ท่องเที่ยว 3.เกษตร 4.OTOP 4.1 1.เกษตร 2.ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ รนม. วิษณุ เครืองาม รนม. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ 4.3 1.Logistics 2.เกษตรและอุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมยานยนต์/ ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์) 3.ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่า มรดกโลกและเชิงสุขภาพ 4.ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้าน 4.2 1.อุตสาหกรรมเกษตร/ อุตสาหกรรมเหล็ก 2.ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สุขภาพ รนม. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รนม. สุชัย เจริญรัตนกุล 5.1 1.ท่องเที่ยว 2.เกษตรเพื่อส่งออก 3.อุตสาหกรรม 4.การค้าชายแดน รนม. สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 8.1 1.ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ อันดามัน-อ่าวไทย 2. ศูนย์กลางผลิตและจำหน่ายผลไม้เพื่อการส่งออก 3. ผู้นำการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ รนม. สุชัย เจริญรัตนกุล รนม. สุวัจน์ลิปตพัลลภ 8.2 1.เกษตร/ OTOP 2.ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3. คุณภาพชีวิต 4.ระบบบริหารงานเป็นเลิศ รนม. ชิดชัย วรรณสถิตย์ 8.3 1. ท่องเที่ยวทะเล 2. พัฒนาฐาน ดารผลิตสินค้า เพื่อส่งออก 3. พลังงาน Biodiesel รนม. สุชัย เจริญรัตนกุล รมว. เนวิน ชิดชอบ 9.2 1. ศูนย์กลางเชื่อมการค้ากับนานาชาติ 2. ท่องเที่ยวและกีฬานานาชาติ 3. ศูนย์กลางยางพาราโลด 4. ศูนย์กลางการศึกษาภาคใต้ รนม. สุวัจน์ลิปตพัลลภ รนม. ชิดชัย วรรณสถิตย์ 9.1 1.ความมั่นคง 2.ศูนย์กลางอาหารฮาลาล 3.อิสลามศึกษานานาชาติ 4.ค้าชายแดน 5.ท่องเที่ยว รนม. ชิดชัย วรรณสถิตย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่กลุ่มจังหวัดเลือกจะมุ่งเน้นประเด็นยุทธศาสตร์ที่กลุ่มจังหวัดเลือกจะมุ่งเน้น 1.1 1. ท่องเที่ยว 2. การค้าการลงทุน ยุทธศาสตร์ตาม แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน การท่องเที่ยว (14 กลุ่ม) 6.2 1. ค้าชายแดน 2. ท่องเที่ยว 2.1 1.ศูนย์กลางการค้าและบริการ เชื่อม East West Corridor 2. ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม นิเวศ 6.1 1. เกษตร/ 2. การค้า การลงทุน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขจัดความยากจน การเกษตร (8 กลุ่ม) 6.2 6.3 1. ข้าวหอมมะลิ/ 2. Logistics 2.2 1. ข้าว (Rice Hub) 7.2 1. ประตูการค้า การคมนาคม และการท่องเที่ยว เชื่อมกับประเทศ เพื่อนบ้าน/ 2. ข้าวหอมมะลิ ปลอดภัยจากสารพิษ 3.2 1.เกษตร (ข้าวปลอดภัย) 2.อุตสาหกรรม 4.1 1.เกษตร 2.ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ การพัฒนาอุตสาหกรรม (6 กลุ่ม) 7.1 1. ท่องเที่ยว/ 2.ไหม 3.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ 1. การค้า การลงทุนที่เป็นพื้นฐาน เศรษฐกิจความรู้ (Knowledge Based Economy 2. ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และ มรดกโลกทางวัฒนธรรม น 4.3 1.ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และเชิงสุขภาพ 2.อุตสาหกรรม (ชิ้นส่วนยานยนต์/ ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์และโลจิสติกส์) การค้าการลงทุนและโลจิสติกส์ (10 กลุ่ม) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.2 1.เกษตรอุตสาหกรรม/ อุตสาหกรรมเหล็ก 2.ท่องเที่ยว 5.1 1. ศูนย์กลางการลงทุนด้านอุตสาหกรรม 2. ท่องเที่ยวระดับโลก ความมั่นคง (1 กลุ่ม) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การรักษาความมั่นคงของรัฐ 8.1 1. ศูนย์กลางขนส่งสินค้า ผลิตเพื่อส่งออก และผลผลิตทางการเกษตรระหว่างประเทศ 2. การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่ยั่งยืนในภูมิภาค 8.3 1. ท่องเที่ยว ทางทะเลระดับโลก 2. พัฒนาฐาน การผลิตสินค้า เพื่อส่งออก 8.2 1. เกษตร(เน้นปาล์มน้ำมัน ข้าว โคเนื้อ) 2. ท่องเที่ยว (รวม OTOP) • สรุปการทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด • ทุกกลุ่มจังหวัดยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้เดิม • ได้มีการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์เพื่อจัดลำดับความสำคัญและ • คัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ที่จะมุ่งเน้น จำนวน 2 ประเด็น • ยุทธศาสตร์ • มีความสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน 9.2 1.ศูนย์กลางเชื่อมการค้าภาคใต้กับนานาชาติ 2.เมืองท่องเที่ยวและกีฬานานาชาติ 9.1 1. การเสริมสร้างสันติสุข 2. ศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
G ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว.... 1.1 ท่องเที่ยว การจัดลำดับของกลุ่มจังหวัด L 6.2 ท่องเที่ยว อันดับ 1 =5 กลุ่มจังหวัด 2.1 ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม เชิงนิเวศ 6.1 R อันดับ 2 =9 กลุ่มจังหวัด R 6.2 2.2 6.3 R L 4.1 ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ 7.2 ประตูการค้า การคมนาคม และการท่องเที่ยว เชื่อมกับประเทศ เพื่อนบ้าน/ 3.2 R 7.1 ท่องเที่ยว อารยธรรมขอม ขีดความสามารถในเชิงการแข่งขัน 3.1 ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์และมรดกโลก ทางวัฒนธรรม 4.3 ท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์และสุขภาพ R G มีศักยภาพในระดับนานาชาติ = 4 กลุ่มจังหวัด R G 4.2 ท่องเที่ยว R 5.1 ท่องเที่ยวระดับโลก มีศักยภาพในระดับภูมิภาค = 8 กลุ่มจังหวัด G L 8.1 ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ที่ยั่งยืนในภูมิภาค มีศักยภาพในระดับภายในประเทศ = 2 กลุ่มจังหวัด R G 8.2 ท่องเที่ยวรวม OTOP 8.3 ท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก R 9.2 เมืองท่องเที่ยวและกีฬาในระดับนานาชาติ 9.1
กลุ่มจังหวัดที่เลือกประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว....กลุ่มจังหวัดที่เลือกประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว.... ทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยว G 1.1 ท่องเที่ยว L 6.2 ท่องเที่ยว 2.1 ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม เชิงนิเวศ 6.1 R R 6.2 2.2 6.3 R L 4.1 ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ 7.2 ประตูการค้า การคมนาคม และการท่องเที่ยว เชื่อมกับประเทศ เพื่อนบ้าน/ 3.2 R 7.1 ท่องเที่ยว อารยธรรมขอม 3.1 ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์และมรดกโลก ทางวัฒนธรรม 4.3 ท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์และสุขภาพ R R G 4.2 ท่องเที่ยว 5.1 ท่องเที่ยวระดับโลก G 8.1 ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ ที่ยั่งยืนในภูมิภาค R G อันดับ 1 8.2 ท่องเที่ยวรวม OTOP 8.3 ท่องเที่ยว ทางทะเล ระดับโลก R อันดับ 2 9.2 เมืองท่องเที่ยวและกีฬาในระดับนานาชาติ 9.1 ที่มา : สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
1.1 R 6.2 2.1 6.1 เกษตร G 6.2 2.2 ข้าว (Rice Hub) 6.3 ข้าวหอมมะลิ G 3.2 เกษตร (ข้าวปลอดภัย) 7.2 ข้าวหอมมะลิ G 4.1 เกษตร 7.1 G 3.1 G 4.3 5.1 4.2 8.1 R P 8.3 การพัฒนาฐานการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก (สัตว์น้ำ) 8.2 เกษตร (เน้นปาล์มน้ำมัน ข้าว โคเนื้อ) 9.2 9.1 ประเด็นยุทธศาสตร์การเกษตร.... การจัดลำดับของกลุ่มจังหวัด อันดับ 1 = 6 กลุ่มจังหวัด อันดับ 2 =2 กลุ่มจังหวัด ขีดความสามารถในเชิงการแข่งขัน G มีศักยภาพในระดับนานาชาติ = 5 กลุ่มจังหวัด R มีศักยภาพในระดับภูมิภาค = 2 กลุ่มจังหวัด L มีศักยภาพในระดับภายในประเทศ = P มีศักยภาพ = 1 กลุ่มจังหวัด
กลุ่มจังหวัดที่เลือกประเด็นยุทธศาสตร์การเกษตร….กลุ่มจังหวัดที่เลือกประเด็นยุทธศาสตร์การเกษตร…. แผนที่แสดงการเกษตรของประเทศไทย 1.1 ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลืองลำไย ลิ้นจี่ พืชผัก ยาสูบ 1.1 2.1 ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลืองอ้อย ยาสูบพืชผัก R 6.1 ข้าว มันสำปะหลังอ้อยยางพาราพืชผัก 6.2 2.2 ข้าวข้าวโพดมันสำปะหลังอ้อย ถั่วเหลือง ผลไม้ 2.1 6.1 เกษตร 6.2 ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา พืชผัก G 6.2 2.2 ข้าว (Rice Hub) 6.3 ข้าวหอมมะลิ G 3.2 ข้าว ข้าวโพด อ้อย ทานตะวัน 6.3 ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย 3.2 เกษตร (ข้าวปลอดภัย) 7.2 ข้าวหอมมะลิ G 7.2 ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ยางพารา 4.1 เกษตร 7.1 4.1 ข้าว อ้อย ข้าวโพด สับปะรด ผลไม้ พืชผัก G 3.1 G 7.1 ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง อ้อยยางพารา พืชผัก 4.3 5.1 4.2 ข้าว สับปะรด อ้อย ผลไม้ 4.2 3.1 ข้าว ผลไม้ พืชผัก 4.3 ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง อ้อย ปาล์มน้ำมัน ทุเรียน 8.1 ยางพารา ปาล์มน้ำมัน กาแฟทุเรียน เงาะ มังคุด G 8.1 ศูนย์กลางผลไม้เพื่อการส่งออก (เงาะ ทุเรียน มังคุด) 5.1 มันสำปะหลัง สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ทุเรียน เงาะ 8.3 ยางพารา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ ทุเรียน มังคุด อันดับ 1 R 8.2 ข้าว ยางพารา ทุเรียน ปาล์มน้ำมัน มังคุด G 8.3 การพัฒนาฐานการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก (สัตว์น้ำ) 9.1 ข้าว ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ลองกอง 8.2 เกษตร / OTOP อันดับ 2 9.2 ข้าว ยางพารา ปาล์มน้ำมัน 9.2 9.1 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
1.1 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม ... 6.2 การจัดลำดับของกลุ่มจังหวัด 6.1 2.1 อันดับ 1 = 2 กลุ่มจังหวัด 6.2 2.2 G 6.3 G อันดับ 2 = 4 กลุ่มจังหวัด 3.2 สร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้า ภาคอุตสาหกรรม 7.2 4.1 7.1 ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม 3.1 ขีดความสามารถในเชิงการแข่งขัน 4.3 อุตสาหกรรม ชิ้นส่วนยานยนต์/ไฟฟ้า/ อิเล็กทรอนิกส์และโลจิสติกส์ R 4.2 เกษตรอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมเหล็ก G มีศักยภาพในระดับนานาชาติ = 3 กลุ่มจังหวัด 5.1 ศูนย์กลางการลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์ ปิโตรเคมี พลังงานและอาหาร G R มีศักยภาพในระดับภูมิภาค = 3 กลุ่มจังหวัด R 8.1 L มีศักยภาพในระดับภายในประเทศ = 8.3 8.2 R 9.2 9.1 อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม .... ผลการคัดเลือก Cluster อุตสาหกรรมตามกลุ่มจังหวัด 1.1 เกษตรแปรรูป 1.1 6.2 6.2 6.1 6.1 2.1 2.1 สิ่งทอย้อมสี เกษตรแปรรูป 6.2 6.2 2.2 2.2 6.3 เกษตรแปรรูป G 6.3 Bio Plastic G 3.2 วัสดุก่อสร้าง/ เกษตรแปรรูป 3.2 สร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้า ภาคอุตสาหกรรม 7.1 7.2 7.2 4.1 4.1 ไหม/ เกษตรแปรรูป 7.1 ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม เกษตรแปรรูป/ สิ่งทอ/ ไหม 3.1 3.1 R 4.3 อุตสาหกรรม ชิ้นส่วนยานยนต์/ไฟฟ้า/ อิเล็กทรอนิกส์และโลจิสติกส์ เกษตรแปรรูป/ แม่พิมพ์/ยานยนต์ ฯ 4.3 4.2 4.2 เกษตรอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมเหล็ก เกษตรแปรรูป 5.1 5.1 ศูนย์กลางการลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์ ปิโตรเคมี พลังงานและอาหาร อัญมณี /เกษตรแปรรูป / ยานยนต์และชิ้นส่วน / จักรยานยต์และชิ้นส่วน G R 8.1 8.1 อันดับ 1 อันดับ 2 8.3 8.3 8.2 8.2 ต่อเรือ ซ่อมเรือ R 9.2 9.2 ที่มา: จากผลการศึกษาของ สสว. ร่วมกับสถาบันการศึกษา 9.1 9.1 อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
ประเด็นยุทธศาสตร์การค้าการลงทุนและโลจิสติกส์.. R 1.1 การค้าการลงทุน R การจัดลำดับของกลุ่มจังหวัด 6.2 การค้าชายแดน R 6.1 การค้า การลงทุน 2.1 ศูนย์กลางการค้า และบริการเชื่อม East West Corridor อันดับ 1 =6 กลุ่มจังหวัด 6.2 R G อันดับ 2 =4 กลุ่มจังหวัด 6.3 7.2 ประตูการค้า การคมนาคมและ การท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบ้าน Logistics G ขีดความสามารถในเชิงการแข่งขัน 3.1 การค้า การลงทุน ที่เป็นพื้นฐานเศรษฐกิจ ฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) R G มีศักยภาพในระดับนานาชาติ = 2 กลุ่มจังหวัด R มีศักยภาพในระดับภูมิภาค = 8 กลุ่มจังหวัด R L 8.1 มีศักยภาพในระดับภายในประเทศ = ศูนย์กลางขนส่งสินค้า ผลิตเพื่อส่งออก และผลผลิตทางการเกษตรระหว่างประเทศ R 8.3 ฐานผลิตสินค้า เพื่อการส่งออก 9.2 ศูนย์กลางเชื่อมโยง การค้า R
กรอบการเชื่อมโยงการค้าระหว่างประเทศและชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านกรอบการเชื่อมโยงการค้าระหว่างประเทศและชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มจังหวัดที่เลือกประเด็นยุทธศาสตร์การค้าการลงทุนและโลจิสติกส์.. • เป็น Hub ของการท่องเที่ยว การประชุม • ประตูการค้าสู่จีนตอนใต้ ลาว และพม่า • Contract farming พืชพลังงานทดแทนกับประเทศพม่า R เขตการค้า การลงทุน และ อุตสาหกรรมใหม่ เชื่อมโยง กับท่าเรือดานัง 1.1 การค้าการลงทุน พม่า R ลาว 6.2 การค้าชายแดน R เชียงราย แม่ฮ่องสอน 6.1 การค้า การลงทุน 2.1 ศูนย์กลางการค้า และบริการเชื่อม East West Corridor เชียงใหม่ 6.2 R G 6.3 7.2 ประตูการค้า การคมนาคมและ การท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบ้าน Logistics G นครราชสีมา 3.1 การค้า การลงทุน ที่เป็นพื้นฐานเศรษฐกิจ ฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) R กัมพูชา กรุงเทพมหานคร • เชื่อมโยงกับกัมพูชาและเวียดนามตอนใต้ ด้านการค้า • ปลูกปาล์มน้ำมัน อ้อย มันสำปะหลัง • นิคมอุตสาหกรรมเกาะกงและปอยเปต R ระนอง 8.1 ศูนย์กลางขนส่งสินค้า ผลิตเพื่อส่งออก และผลผลิตทางการเกษตรระหว่างประเทศ • เขตเศรษฐกิจพิเศษไทย – พม่า • นิคมอุตสาหกรรม ไทย – พม่า เพื่อสร้างเสริมเศรษฐกิจชายแดนและลดปัญหาความมั่นคง • เส้นทางการค้าเชื่อมโยงกับประเทศอินเดีย กระบี่ พังงา อันดับ 1 R ภูเก็ต 8.3 ฐานผลิตสินค้า เพื่อการส่งออก อันดับ 2 • Marine Port และ การเดินเรือชายฝั่งระนอง พม่า และบังคลาเทศ • การค้าภายใต้กรอบ • IMT- GT • เชื่อมโยงการค้ากับยุโรป แอฟริกาและตะวันออกกลาง(ท่าเรือระดับสากลปากบารา • จ.สตูล) 9.2 ศูนย์กลางเชื่อมโยง การค้า R ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคง….ประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคง…. 1.1 การจัดลำดับของกลุ่มจังหวัด 6.2 6.1 2.1 อันดับ 1 = 1 กลุ่มจังหวัด 6.2 2.2 6.3 3.2 7.2 ขีดความสามารถในเชิงการแข่งขัน 4.1 7.1 3.1 G มีศักยภาพในระดับนานาชาติ = 4.3 R มีศักยภาพในระดับภูมิภาค = 4.2 5.1 L มีศักยภาพในระดับภายในประเทศ = 1 กลุ่มจังหวัด 8.1 8.3 8.2 L 9.2 การเสริมสร้างสันติสุข 9.1
Value Chain ของการผลักดันยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหาร และจัดการการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคบริการท่องเที่ยว พัฒนาด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม พัฒนามาตรฐานสถานบริการและบริการอื่นๆที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการท่องเที่ยว สร้าง ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และวางแผนทางการตลาด กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงท่องเที่ยวกระทรวง ICT หน่วยงานส่วนกลาง กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงสาธารณสุข ส่งเสริมผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ สร้างและประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของประเทศไทย ปรับปรุงโครงสร้างและบริการพื้นฐาน กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงวัฒนธรรมกรมประชาสัมพันธ์ สร้างจุดเด่น/เอกลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของแต่ละกลุ่มจังหวัด สร้างระบบการป้องกัน กำกับ ดูแล รักษาความปลอดภัย การพัฒนาปรับปรุง อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มจังหวัด กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงวัฒนธรรม กลุ่มจังหวัด/อปท. กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงอุตสาหกรรม กลุ่มจังหวัด/อปท. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น พัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กระทรวงมหาดไทย กลุ่มจังหวัด/อปท. หน่วยงานระดับจังหวัด อปท. กระทรวงท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัด/อปท. จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศด้านการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัด/อปท.
ตัวอย่างโครงการในการผลักดันยุทธศาสตร์ผู้ว่า CEO ด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดที่มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเป็นอันดับหนึ่ง โดยมีงบประมาณโครงการที่โดดเด่นของกลุ่มจังหวัดเป็นเงินรวม 4,654.2 ล้านบาท กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง7.2 (1400.8 ล้านบาท) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1.1 (992.4 ล้านบาท) Cultural G 1. พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัด (996.8 ล้านบาท) 2. จัดตั้งเขตพิเศษเพื่อการค้าและการท่องเที่ยว ช่องเม็ก (62 ล้านบาท) 1.1 ท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สุขภาพ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม 1. อนุรักษ์และพัฒนาประวัติศาสตร์ เชิงแสน น่าน หริภุญชัย และเวียงลอ สู่มรดกโลก ( ปี 50= 230 ล้าน บาท ปี 51= 180 ล้านบาท รวมเป็น 410 ล้านบาท ) 2.LANNA High Point (442.4 ล้านบาท) 3. มหัศจรรย์ในอ้อมกอดธรรมชาติล้านนา Unseen In LANNA Bio Diversity (160 ล้านบาท) Historical 7.2 ท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน L 7.1 ท่องเที่ยว อารยธรรมขอม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง7.1 (500 ล้านบาท) Historical R Eco Tourism 4.3 แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1.เส้นทางสู่อารยธรรมขอม (500 ล้านบาท) R กลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน 8.3 (493.3 ล้านบาท) กลุ่มจังหวัดกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.3( 774.4 ล้านบาท) 1. พัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของกลุ่มอันดามัน (158 ล้านบาท) 2. สนับสนุนและพัฒนาการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามันอย่างยั่งยืน (49 ล้านบาท) 3. เสริมสร้างความปลอดภัยและป้องกันการก่อการร้ายสากล (286.3 ล้านบาท) Beach 1. พัฒนาและปรับปรุงปัจจัยพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของ แหล่งท่องเที่ยว (100 ล้านบาท) 2. มนต์เสน่ห์เบญจบูรพาสุวรรณภูมิ (591.4 ล้านบาท) 3. การประชาสัมพันธ์การตลาดและส่งเสริมการท่องเที่ยว เชื่อมโยง ภายในกลุ่มและประเทศเพื่อนบ้าน (24 ล้านบาท) 8.3 ท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก G
ตัวอย่างโครงการในการผลักดันยุทธศาสตร์ผู้ว่า CEO ด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดที่มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเป็นอันดับสอง โดยมีงบประมาณ โครงการที่โดดเด่นของกลุ่มจังหวัดเป็นเงินรวม 3,895.29ล้านบาท กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2.1 (1,742 ล้านบาท) 1. จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมวิจัยและพัฒนา การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด 2.1 (76.7 ล้านบาท) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6.2 ( 562 ล้านบาท) 1.เชื่อมโยงเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดสนุก (562 ล้านบาท) L 6.2 ท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.1 (457 ล้านบาท) R 2.1 ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1.ท่องเที่ยวแดนดินถิ่นทวารวดีตะวันตก (457 ล้านบาท) 6.2 R 4.1 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 3.1( 423.29 ล้านบาท) R 3.1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และมรดกโลกทางวัฒนธรรม 1. สร้างโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด (66.89 ล้านบาท) 2. พัฒนาอนุรักษ์ฟื้นฟูการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (133 ล้านบาท) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 5.1 ( 1740 ล้านบาท) R 4.2 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สุขภาพ G 1. เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวจากชลบุรีสู่ อินโดจีน(1,370 ล้านบาท) 2.เสริมสร้างการตลาดทั้งในและต่างประเทศ (230 ล้านบาท) 3. โครงการปรับปรุงระบบนิเวศชายฝั่ง (40 ล้านบาท) 5.1 ท่องเที่ยวทางทะเล กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน 8.1 ( 65 ล้านบาท) 1. จัดตั้งศูนย์บริการท่องเที่ยวแบบครบวงจร (One Stop Service) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน (25 ล้านบาท) 2. ส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวเชิงรุกกลุ่มจังหวัด (20 ล้านบาท) G กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน 8.2 ( 300 ล้านบาท) 8.1 ศูนย์กลางการท่องเที่ยว เชิงคุณภาพ ที่ยั่งยืนในภูมิภาค R 1. พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ (180 ล้านบาท) 2. ส่งเสริมตลาดกลุ่มจังหวัด Road Show ในและต่างประเทศ OpenHouse (120 ล้านบาท) 8.2 ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.2 ( 271.3 ล้านบาท) R กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 9.2 ( ล้านบาท) 1. พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่งอ่าวไทย ด้านทิศตะวันตกในพื้นที่ จ.เพชรบุรี- จ.ประจวบคีรีขันธ์ (221.3 ลบ.) 2. จัดตั้งศูนย์รวมภูมิปัญญา และสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว ภาคกลางตอนล่าง(50 ลบ.) 9.2 เมืองท่องเที่ยวและกีฬาในระดับนานาชาติ
ประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการเกษตรประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการเกษตร ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ตัวแทนกลุ่มจังหวัดด้านการเกษตร การประชุมเชิงปฎิบัติการการพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง (CEO Retreat II) วันที่ 6 มกราคม 2549 ณ ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ทำเนียบรัฐบาล
เป้าหมายของผลิตภัณฑ์มวลรวมของภาคการเกษตรเป้าหมายของผลิตภัณฑ์มวลรวมของภาคการเกษตร โดยภาพรวมของประเทศในปี 2551 ประมาณ 9 แสนล้านบาท 1.1 กลุ่ม 6.1 (อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลำภู เลย) เกษตรเพิ่มมูลค่า (ยางพารา) กลุ่ม 2.2 (นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพรช พิจิตร) Rice Hub R 6.2 2.1 กลุ่ม 6.3 (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม) ข้าวหอมมะลิ 6.1 G 6.2 G 6.3 2.2 3.2 7.2 G 7.1 กลุ่ม 4.1 (ราชยุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี) เกษตรเพิ่มมูลค่า 4.1 กลุ่ม 7.2 (อุบลฯ อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร) ข้าวหอมมะลิ G 3.1 G 4.3 5.1 4.2 กลุ่ม 3.2 (สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท) เกษตรคุณภาพมาตรฐาน กลุ่ม 8.3 (ภูเก็ต พังงา กระบี่) เกษตรมูลค่าสูง เพื่อการส่งออก 8.1 R P 8.3 8.2 กลุ่ม 8.2 (นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง) ศูนย์กลางการผลิตการเกษตร (ปาล์มน้ำมัน ข้าว โคเนื้อ) 9.2 9.1
1.1 R 6.2 2.1 6.1 เกษตร G 6.2 2.2 ข้าว (Rice Hub) 6.3 ข้าวหอมมะลิ G 3.2 เกษตร (ข้าวปลอดภัย) G 4.1 เกษตร 7.1 G 3.1 G 4.3 5.1 4.2 8.1 R P 8.3 การพัฒนาฐานการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก (สัตว์น้ำ) 8.2 เกษตร (เน้นปาล์มน้ำมัน ข้าว โคเนื้อ) 9.2 9.1 เป้าหมายของผลิตภัณฑ์มวลรวมของภาคการเกษตรโดยภาพรวมของประเทศในปี 2551 ประมาณ 9 แสนล้านบาท กลุ่ม 6.1 (อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลำภู เลย) - รายได้เกษตรกรต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น 188,723 บาท - มูลค่าผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นเป็น 4,600 ล้านบาท กลุ่ม 2.2 (นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพรช พิจิตร) - เพิ่มรายได้จากผลผลิตข้าว กลุ่ม 6.3 (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม) - เพิ่มรายได้ให้กลุ่มจังหวัด 10% - เพิ่มความรู้การบริหารจัดการ แก่เกษตรกร 7.2 ข้าวหอมมะลิ กลุ่ม 4.1(ราชยุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี) - มูลค่าผลผลิตการเกษตรของ กลุ่มจังหวัดเพิ่มขึ้น - สินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัย มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล กลุ่ม 7.2 (อุบลฯ อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร) - เพิ่มผลผลิตและพัฒนาข้าวเปลือก - การพัฒนาและแปรรูปข้าวหอมมะลิ กลุ่ม 3.2 (สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท) - ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้ - ระบบนิเวศและสุขภาพประชาชนดีขึ้น - เกษตรกรได้รับการเรียนรู้ กลุ่ม 8.3 (ภูเก็ต พังงา กระบี่) - พัฒนาฐานการผลิตสินค้าเกษตร มูลค่าสูงเพื่อการส่งออก กลุ่ม 8.2 (นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง) - เพิ่มมูลค่าผลผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตร และรายได้
Value Chain ของการผลักดันยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตร หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับจังหวัด อปท. การวิจัยและพัฒนา การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนาระบบ การตลาด การพัฒนา เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร การจัดการ พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนา เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การวิจัยและพัฒนาเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การเพิ่มขีดความ สามารถในการ แข่งขัน(การตลาด) สศก. กรมวิชาการเกษตร ก. พาณิชย์ กรมวิชาการเกษตร การพัฒนา แปรรูป การพัฒนาพันธุ์พืช/สัตว์ สร้าง Brand สินค้า ก.อุตสาหกรรม กรมวิชาการ/ส่งเสริม ปศุสัตว์ ประมง การรับรองคุณภาพเพื่อการส่งออก ก. พาณิชย์ การจัดการระบบน้ำ ศูนย์ กระจายสินค้า และโลจิสติกส์ กรมชลประทาน กรมการค้าต่างประเทศ การวางระบบ และการตรวจสอบมาตรฐาน การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ก. พาณิชย์ ก. พาณิชย์ สมก./กรมการค้าตปท. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ การกระจายพันธุ์ การส่งเสริมการรวมกลุ่ม การปรับปรุงดิน การพัฒนา คุณภาพเพื่อการส่งออก การสร้าง ภูมิคุ้มกัน ให้แก่กษตรกร /สถาบันเกษตรกร การจัดการศัตรูและโรคพืช/สัตว์ สิ่งสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการ สิ่งสำคัญในลำดับรองลงมา การเก็บผลผลิต
ตัวอย่างโครงการ งบประมาณรวมของโครงการด้านการพัฒนาเกษตรรวมทั้งสิ้น 7,562.31ล้านบาท กลุ่มจังหวัด 6.1 (460 ล้านบาท) 1.1 กลุ่มจังหวัด 2.2(761.2 ล้านบาท) • พัฒนาการผลิตและการจัดการผลผลิต • ยางพาราเพื่อความเป็นเลิศ (300) • 2. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา (60) • ข้าวไทยแกร่งแข่งทั่วโลก (210) • ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการแปรรูปข้าว (26) R 6.2 กลุ่มจังหวัด 6.3 (1,232 ล้านบาท) 2.1 6.1 เกษตร • พัฒนาผู้ประกอบการและเทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มคุณภาพ (47.65) • สร้างศูนย์รวบรวมกระจายสินค้าแลกเปลี่ยนข้าวหอมมะลิ (299) กลุ่มจังหวัด 3.2(597.52 ล้านบาท) G 6.2 G 2.2 ข้าว (Rice Hub) 6.3 ข้าวหอมมะลิ • ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ดี (156.1) • พัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ (18.57) 3.2 เกษตร (ข้าวปลอดภัย) 7.2 ข้าวหอมมะลิ G 4.1 เกษตร 7.1 G 3.1 กลุ่มจังหวัด 4.1(335 ล้านบาท) G 4.3 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามระบบ มาตรฐาน (335) กลุ่มจังหวัด 7.2 (2,461 ล้านบาท) 5.1 • การถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีการผลิตแก่เกษตรกรและการรับรองคุณภาพ (20) • สนับสนุนการผลิต (77) 4.2 8.1 R กลุ่มจังหวัด 8.2 (1,715.59 ล้านบาท) P 8.3 การพัฒนาฐานการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก (สัตว์น้ำ) ปลูกปาล์มน้ำมันทดแทนพลังงานครบวงจร 8.2 เกษตร (เน้นปาล์มน้ำมัน ข้าว โคเนื้อ) 9.2 9.1
ข้อเสนอการปรับปรุงระบบบริหารจังหวัดแบบบูรณาการข้อเสนอการปรับปรุงระบบบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ การประชุมเชิงปฎิบัติการการพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง (CEO Retreat II) วันที่ 6 มกราคม 2549 ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ทำเนียบรัฐบาล
ปัญหา การบริหารยุทธศาสตร์
ปัญหา ระบบการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ
ปัญหา ความคาดหวังและความไม่แน่นอนของผู้ว่าซีอีโอ
ข้อเสนอ ข้อเสนอ การปรับปรุงระบบการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ ENABLING FACTORS INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 1. • พัฒนากลไกเชื่อมโยงการทำงานระหว่างกระทรวง กรม กับกลุ่มจังหวัด • ให้แต่ละกระทรวงมีผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกับกลุ่มจังหวัด เช่น การพัฒนาตัวชี้วัดร่วม การทำงานระหว่างกลุ่มจังหวัด (Inter Cluster) เป็นต้น • กำหนดบทบาทหน่วยงานกลาง จัดให้มีหัวหน้ากลุ่มจังหวัด / สำนักบริหารยุทธศาสตร์ 3. ปรับโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาค 2. TROUBLE SHOOTING TEAM DEPUTY PRIME MINISTER ADVISORY TEAM 4. 6. • ตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา • ให้มหาวิทยาลัยในภูมิภาคจัดทำ ข้อมูล intelligence / ช่วยวิจัย 5. • จัดจ้างที่ปรึกษา • สร้าง Executive coaching team เน้นบทบาทรองนายกรัฐมนตรี ในการกำกับดูแลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด NECESSARY PRE-CONDITIONS 8. 9. • สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน • คกก. ที่ปรึกษาภาคประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน หลักสูตรเตรียม ผู้ว่าราชการ จังหวัดซีอีโอ 7. • กำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 3 ปี • พัฒนาระบบคัดเลือกผู้ว่าซีอีโอ
ตาราง ปัญหา และข้อเสนอการปรับปรุงระบบการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ
INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 1. พัฒนากลไกเชื่อมโยงการทำงานระหว่างกระทรวง กรม กับกลุ่มจังหวัด (1) ให้แต่ละกระทรวงมีผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารยุทธศาสตร์ • ร่วมกับกลุ่มจังหวัด ● การพัฒนาตัวชี้วัดร่วม เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จร่วมกัน • ● การทำงานระหว่างกลุ่มจังหวัด (Inter Cluster) ทำไปทำไม • เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกันภายในกลุ่มจังหวัด • (Intra-Cluster) และระหว่างกลุ่มจังหวัด • (Inter-Cluster) • เพื่อสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มจังหวัด/ • พี้นที่ (Agenda Based) และกระทรวง • (Functional Based) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 General Framework Broad guidelines คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา Government Strategic Plan แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี การสร้าง แรงจูงใจ แผนปฏิบัติราชการ กลุ่มเศรษฐกิจ กลุ่มสังคม .......... กำหนดเป็นตัวชี้วัดทางเลือก ที่กลุ่มจังหวัดใดมี การดำเนินงานร่วมกัน จะได้เงินรางวัลที่แตกต่าง จากตัวชี้วัดปกติ กระทรวง กระทรวง กระทรวง กระทรวง กระทรวง Function จังหวัด Business Plan กลุ่มจังหวัด จังหวัด • ส่วนราชการได้มีการกำหนดตัวชี้วัดร่วมในการลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการปี ๒๕๔๘ แล้ว ได้แก่ • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว - วัดจากรายได้ของจังหวัด รวมเป็นรายได้ของกลุ่มจังหวัด • ร้อยละของจำนวนเกษตรกรที่ได้รับคำรับรอง QGAP (quality good agricultural product) เพิ่มขึ้น- วัดที่จำนวนคำรับรองที่ออกโดยกระทรวงการเกษตร และจำนวนเกษตรกรที่ได้รับ QGAP ในจังหวัด Joint KPI Area จังหวัด จังหวัด กลุ่มจังหวัด จังหวัด
INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 1. (2) กำหนดบทบาทหน่วยงานกลาง • ให้คำปรึกษาแนะนำในการวางยุทธศาสตร์ • - เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลศักยภาพในเชิงแข่งขันBusiness Intelligence และCompetitive Strategyของประเทศไทย เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจดำเนินงาน • ให้คำปรึกษา แนะนำเทคนิคการวางยุทธศาสตร์ที่ทันกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป • สร้างรูปแบบการดำเนินงานของแต่ละยุทธศาสตร์ ตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ สศช. • สนับสนุนทรัพยากรด้านงบประมาณ • สนับสนุนทรัพยากรด้านงบประมาณโดยให้ความสำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัดอย่างแท้จริง บนพื้นฐานยุทธศาสตร์ที่กำหนดเป็น 2 ส่วน คือ (1) งบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตร์พื้นฐานของประเทศ • (2) งบประมาณยุทธศาสตร์สนับสนุนกลุ่มจังหวัด สงป. กระทรวง มหาดไทย • สนับสนุนการทำงานของระบบบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ • สร้างความเข้มแข็งให้ ..สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด..กระทรวงมหาดไทย เพื่อทำหน้าที่เป็น Back-StoppingUnit (BSU) ในการสนับสนุนงานผู้ว่าซีอีโอ • พัฒนาขีดความสามารถพื้นฐานของข้าราชการทุกระดับ • พัฒนาขีดความสามารถพื้นฐาน (core competency) ของข้าราชการทุกระดับในกลุ่มจังหวัด และจังหวัดเพื่อให้มีศักยภาพในการดำเนินงานบรรลุตามยุทธศาสตร์ สำนักงาน ก.พ.
INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 1. (2) กำหนดบทบาทหน่วยงานกลาง..ต่อ.. • พัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ • พัฒนาโครงสร้าง และระบบบริหารจัดการ (administrative system) ให้ทันสมัย สามารถบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ว่าซีอีโอ : ระบบกำกับดูแลของรองนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน • กำหนดแนวทางและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาขีดสมรรถนะ (capacity building) เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง รวมถึงการวัดผลงาน (Balance Score Card) สำนักงาน ก.พ.ร. • ประสานงานรองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด • เป็นผู้ประสานงานรองนายกฯ ในการติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการกลุ่มจังหวัด/จังหวัด • เป็นผู้ประสานงานราชการส่วนกลางในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ผู้ตรวจ นร. ส่งเสริมนโยบายการเงิน การคลัง - ให้คำปรึกษาเรื่องภาวะเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด การระดมทุน ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ และระบบ GFMIS กระทรวง การคลัง สภาหอการค้าไทย สนับสนุนการทำงานของผู้ว่าซีอีโอ - ให้ความคิดเห็น และคำแนะนำเกี่ยวกับข้อมูลทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน การประกอบการของภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้แก่กลุ่มจังหวัดและจังหวัด สภาอุตสาหกรรมฯ
ตัวอย่าง.. Inter Cluster ข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก • 6.3 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด • เกษตรอินทรีย์ • (ข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก) 1.1 • กรณีจังหวัดบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้สามารถทำงานร่วมกันข้ามกลุ่มจังหวัด (inter-cluster) เพื่อผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก • ประกอบด้วยกลุ่มจังหวัด 6.3 และ 7.2 6.2 6.1 6.3 ข้าวหอม มมะลิ 2.2 3.2 7.2 ข้าวหอม มะลิ 6.3 และ 7.2 ข้าวหอมมะลิ 7.1 4.1 3.1 4.3 5.1 4.2 8.1 7.2 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร ข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก 8.3 8.2 9.2 9.1
INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 2. จัดให้มีหัวหน้ากลุ่มจังหวัด/สำนักบริหารยุทธศาสตร์ Office of Strategy Management (OSM) • หัวหน้ากลุ่มจังหวัด- อาจคัดเลือกจากผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดที่รองนายกรัฐมนตรีผู้กำกับดูแลกลุ่มจังหวัด - มีความรับผิดชอบหลักในการกำกับดูแลการบริหารยุทธศาสตร์ในภาพรวมของกลุ่มจังหวัดของตน และการนำยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดตนเชื่อมโยงกับกลุ่มจังหวัดอื่น (Inter and Intra Cluster) รวมทั้งประสานเชื่อมโยงกับกระทรวง ทบวง กรม ภาคเอกชน และต่างประเทศ • Kaplan & Norton ได้เสนอแนวคิดการจัดตั้ง “สำนักบริหารยุทธศาสตร์ (Office of Strategy Management-OSM)” เพื่อทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ขององค์การไปปฏิบัติให้บังเกิดผล - สำนักบริหารยุทธศาสตร์ (Office of Strategy Management - OSM)ขึ้น ในระดับของหน่วยงานกลางและระดับกระทรวง กรม จังหวัด โดยเป็นหน่วยงานขนาดเล็ก คล่องตัว เพื่อทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ขององค์การไปปฏิบัติให้บังเกิดผล การบริหารการวัดผลการดำเนินงาน การถ่ายทอดเป้าหมายระดับองค์การสู่เป้าหมายระดับหน่วยงานย่อยและตัวบุคคล (individual/personal scorecard) การส่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่มเพื่อทบทวนยุทธศาสตร์และผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง รวมถึงการส่งเสริมให้มีการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น ฝ่ายวางแผนและงบประมาณ ฝ่ายบุคลากร เป็นต้น
INTEGRATED REGIONAL MANAGEMENT SYSTEM 3. ปรับโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาค โครงสร้างของจังหวัดประกอบด้วย1. สำนักงานจังหวัด: เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 59)2. ส่วนราชการประจำจังหวัด: เป็นหน่วยงานของกระทรวง ทบวง กรม ที่มาปฏิบัติงานในจังหวัด โดยกำหนดให้เป็นราชการส่วนภูมิภาคทั้งหมด เว้นแต่คณะรัฐมนตรีจะกำหนดเป็นการเฉพาะบางส่วนราชการ (มาตรา 59 วรรค 3)3. กลุ่มภารกิจของจังหวัด:เป็นการรวมส่วนราชการในจังหวัดเป็นกลุ่มภารกิจ ตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกำหนด (มาตรา 63 วรรค 3)4. หน่วยบริการของจังหวัด:เป็นหน่วยงานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดตั้งขึ้น เพื่อรวมการอนุมัติ อนุญาต หรือการสั่งการใดๆ ไว้ในหน่วยงานเดียวกัน เพื่อบริการประชาชน (มาตรา 64)5. กลุ่มจังหวัด: เป็นการรวมหลายจังหวัดที่ใกล้เคียงกัน เพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาร่วมกัน (มาตรา 60)หมายเหตุ: ตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. .... จังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด กลุ่มจังหวัด สำนักงานจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด หน่วยบริการของจังหวัด การบริหารงานบุคคลของจังหวัด ควรให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการในส่วนภูมิภาคได้โดยตรง ดังนี้1. อำนาจการแต่งตั้งข้าราชการในเขตจังหวัดไปดำรงตำแหน่งอื่นในจังหวัดเดียวกัน2. อำนาจการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีของข้าราชการในเขตจังหวัด โดยมีการกำหนดวงเงินการเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นพิเศษแยกจากส่วนราชการในส่วนกลาง3. การเสนอความเห็นต่อส่วนราชการในการสั่งย้ายข้าราชการออกนอกพื้นที่จังหวัด4. การเสนอความเห็นต่อส่วนราชการในการแต่งตั้งข้าราชการในจังหวัดไปดำรงตำแหน่งอื่นนอกพื้นที่5. อำนาจการบริหารบุคคลอื่นๆ ตามความเหมาะสมที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหมายเหตุ: ตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ... มาตรา 63 กลุ่มภารกิจของจังหวัด กลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจด้านสังคม กลุ่มภารกิจด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจด้าน... การมอบอำนาจ:ผู้ว่าซีอีโอควรได้รับมอบอำนาจที่จำเป็นในการบริหารงานนตามยุทธศาสตร์จากส่วนราชการ เช่น การอนุมัติ การอนุญาตตามกฎหมายหลักของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในเขตพื้นที่จังหวัด (มาตรา 67)
ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรอินทรีย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ การค้า การลงทุน ความมั่นคง อื่นๆ GIAB ข้อมูล Intelligence ผู้ว่าซีอีโอ ADVISORY TEAM (1) ตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา 4. Governor’s Intelligence Advisory Board - GIAB: เพื่ออะไร เพื่อช่วยผู้ว่าซีอีโอในการตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันการณ์กับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทำอะไร • คณะกรรมการที่ปรึกษาระดับกลุ่มจังหวัด มีหน้าที่ • ให้คำปรึกษา แนะนำการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ • เป็นแหล่งข้อมูลเรื่อง Business & Competitive Strategy ของกลุ่มจังหวัด • สนับสนุนให้เกิดปัจจัยความสำเร็จต่อการบริหารงานกลุ่มจังหวัด ใครทำ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดทั้งในและต่างประเทศ จาก • ภาครัฐ • ภาคเอกชน เช่น ประธานบริษัท Samsung หรือ ประธานสมาคมโรงแรม • ภาคประชาชน
Knowledge-Strategy Interlock What CEO has to know What CEO will do Intelligence info. for managing strategies Strategy Gap Knowledge Gap Learning transformation What CEO can do What CEO knows ADVISORY TEAM (2) ให้มหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาคจัดทำข้อมูล intelligence / ช่วยวิจัย 4. Provincial Intelligence System ข้อมูลเพื่อ • benchmarkกับ ต่างประเทศ • เพิ่มศักยภาพใน การแข่งขันของ ประเทศ Regional/ Global Network ผวจ. CEO ข้อมูลวิจัยจากนักวิชาการในพื้นที่เพื่อ • วิเคราะห์ assets และศักยภาพของ พื้นที่ • ปรับปรุงและพัฒนา ยุทธศาสตร์ Local Network ทูต CEO Inside-out Outside-in • แนวคิดเรื่อง knowledge-based management เป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จในการบริหารงาน เชิงยุทธศาสตร์ของ ผวจ. ซีอีโอ ข้อมูลเชิงลึกจากเครือข่ายต่างๆ ทั้งจากนอกประเทศ (ทูตซีอีโอและคณะผู้แทนไทยในต่างประเทศ) และในประเทศ (นักวิชาการและประชาชนในพื้นที่) จึงต้องมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบเพื่อให้สอดรับกับความต้องการของพื้นที่ที่มียุทธศาสตร์ต่างกัน • การจัดทำ Provincial Intelligence System จะช่วยให้ ผวจ. ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัยเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ของ ผวจ. ได้
TROUBLE SHOOTING TEAM 5. 1. จัดจ้างที่ปรึกษา “Consultant team” • การบริหารงานในกลุ่มจังหวัด ด้วยวิธีการ “จัดจ้างที่ปรึกษา” จากมหาวิทยาลัย หรือบริษัทที่ปรึกษาที่มีองค์ความรู้ แนวคิด เทคนิดใหม่ๆ มาดำเนินงานให้เกิด “ผลลัพธ์” ตามความต้องการของกลุ่มจังหวัด ซึ่งจะเป็นการช่วยลดภาระให้แก่ข้าราชการในการปฏิบัติงานด้วย 2. สร้าง Executive coaching team เพื่อช่วยผู้ว่าซีอีโอในเรื่องเทคนิคการบริหารงานในกลุ่มจังหวัด อาจให้มีทีมที่ปรึกษาพิเศษ เรียกว่า Executive Coaching Team เข้ามาช่วยดำเนินงานในเรื่องต่างๆ ได้แก่ • เทคนิด วิธีการบริหารงาน • องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของโลก • การสร้างสมดุลในการบริหารกลุ่มจังหวัดจากปัจจุบัน ไปสู่อนาคต • การแสวงหากลยุทธ์ใหม่ๆ มาขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ทั้งระยะสั้น และระยะยาว • เทคนิค วิธีการนำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ได้เปรียบคู่แข่งขัน • วิธีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
DEPUTY PRIME MINISTER 6. เน้นบทบาทรองนายกรัฐมนตรีในการกำกับดูแลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด เพื่อให้รองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลพื้นที่มีทีมงานด้านยุทธศาสตร์ที่เข้มแข็ง เห็นควรให้- ผู้ตรวจสำนักนายกรัฐมนตรีมีระบบเสริมสร้าง ประสานงานระหว่างรองนายกรัฐมนตรีกับกลุ่มจังหวัด หน่วยงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยุทธศาสตร์ ทั้งภาครัฐ และเอกชนเพื่อปรับแต่ง การทำงานของทุกหน่วยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์- ศูนย์ประสานงานคณะกรรมการกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค มีบทบาท กลไกที่สนับสนุนรองนายกรัฐมนตรีเรื่องยุทธศาสตร์ในพื้นที่อย่างใกล้ชิด- บทบาทรองนายกรัฐมนตรี ในการส่งเสริม สนับสนุนกลุ่มจังหวัดเน้นมุมมองการพัฒนากลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ โดยการยกระดับสูงขึ้น เป็น Global player หรือ เป็นRegional player หรือ เป็น Local player ที่ชัดเจน ผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงาน กลาง กระทรวง มหาดไทย รองนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ
NECESSARY CONDITIONS กำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 3 ปี 7. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง • เพื่อให้ผู้ว่าซีอีโอมีระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งเพียงพอในการบริหารยุทธศาสตร์ รวมทั้งแผนงาน โครงการตามยุทธศาสตร์ได้ จึงเห็นควรเสนอให้ผู้ว่าซีอีโอมีระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งไม่น้อยกว่า 3 ปี • เพื่อให้ผู้ว่าซีอีโอสามารถบริหารงานยุทธศาสตร์ได้เต็มที่ สามารถนำพากลุ่มจังหวัดไปสู่การเป็น global player ได้ จึงเห็นว่าอาจเสนอให้ผู้ว่าซีอีโอลดภาระในการบริหารงานประจำ (routine administration) ภายในของกลุ่มจังหวัด จังหวัด และพิจารณาให้อำนาจ (empower) รองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ที่มีความเหมาะสมเป็นผู้รับผิดชอบแทน การคัดสรรแบบ ระบบเปิด • เพื่อให้การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ประสบผลสำเร็จ ผู้นำจะต้องมีเทคนิค องค์ความรู้ ประสบการณ์ที่จะนำกลุ่มจังหวัดเข้าสู่การเป็น global players เข้าไปแข่งขันได้ในเวทีโลก อาจเสนอให้มีการคัดสรรผู้ว่าซีอีโอ จากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ โดยวางระบบเปิดเพื่อสามารถรับโอนข้าราชการจากหน่วยงานอื่นได้
NECESSARY CONDITIONS หลักสูตรเตรียมผู้ว่าราชการจังหวัดซีอีโอ 8. โรงเรียนเตรียมผู้ว่าซีอีโอ เป็นแนวความคิดในการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ โดยมี “ผู้ว่าซีอีโอ” ที่มีความเข้มแข็ง และเป็นระบบที่ยั่งยืน หลักสูตรเตรียมผู้ว่าซีอีโอมุ่งให้ “ผู้ว่าซีอีโอ” ได้เรียนรู้และนำปรัชญาตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ไปสู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยจะสร้างและเตรียมความพร้อมให้บุคลากรที่เหมาะสมจะเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง “ผู้ว่าซีอีโอ” ใหม่ให้ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะอย่างเป็นระบบจากการเรียนรู้ 4 รูปแบบ คือ (1) เรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner Centered) (2) เรียนรู้เพื่อนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง (Applied Learning) (3) เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง (Action Learning) (4) เรียนรู้ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง (Problem Oriented) หลักสูตรเตรียมผู้ว่าราชการจังหวัดซีอีโอ ปรัชญาและแนวคิดการบริหารงานของผู้ว่าซีอีโอ ...เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา... การเรียนรู้มุ่งเน้นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง (Problem Oriented) การเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner Centered) • เรียนรู้ร่วมกันในห้องเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ • ให้พร้อมเป็น “ผู้นำ” • Visioning • Strategy Leadership • Strategy Management • Change Management • Creative Thinking • Decision Making • Communication • เรียนรู้โดยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริงในจังหวัดต่าง เพื่อเตรียมพร้อมกับตำแหน่ง “ผู้ว่าซีอีโอ” และหาคำตอบในประเด็น ดังนี้ • แต่ละจังหวัดควรมีการสร้างแนวคิด (concept) แบบไหน • แต่ละจังหวัดจะสร้างให้มีพลัง มีชีวิตอย่างไร • แต่ละจังหวัดจะพัฒนาอะไรเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ “ประชาชน” การเรียนรู้เพื่อนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติจริง (Applied Learning) การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง (Action Learning) • เรียนรู้จากการไปศึกษา ดูงานในต่างประเทศ • ขับเคลื่อนจังหวัดให้เป็นส่วนหนึ่งของ Map of the World • ปรับเปลี่ยนจังหวัดให้แตกต่าง (make differentiate) • สร้างเอกลักษณ์เฉพาะ (branding)ให้จังหวัด • เรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานเชิงนโยบายของราชการส่วนกลาง • เพื่อให้ผู้ว่าซีอีโอเกิดความคิดแบบสร้างสรรค์ และสามารถคิดเชิงยุทธศาสตร์ เกิดการผสมผสานแนวทางดำเนินงาน ที่ไม่ยึดติดกฎ ระเบียบเป็นบรรทัดฐานในการปกครองจังหวัด