1 / 84

งานสุขภาพจิต

งานสุขภาพจิต. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตและยาเสพติด. นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ

liseli
Download Presentation

งานสุขภาพจิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานสุขภาพจิต กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตและยาเสพติด

  2. นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551

  3. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550

  4. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปี 2550 = 17.71 : 1,000 การเกิดมีชีพ(เป้าหมาย ไม่เกิน 30:1,000)

  5. สถานการณ์ Low Birth Weightจังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550

  6. สถานการณ์ Low Birth Weight จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปี 2550 = ร้อยละ 10.36 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7

  7. อัตราตายปริกำเนิด จังหวัดยโสธรปีงบประมาณ 2545 – 2550 เป้าหมายไม่เกิน 15 : 1,000 การเกิดมีชีพ

  8. อัตรามารดาตายจากการตั้งครรภ์ การคลอด จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545-2550 เป้าหมายไม่เกิน 36 : 100,000 การเกิดมีชีพ

  9. อัตราการมีบุตรคนแรกของหญิงอายุ < 20 ปี จังหวัดยโสธร ปี 2545 – 2550 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ10

  10. อัตราการมีบุตรคนแรกของหญิงอายุ < 20 ปี จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2550

  11. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว

  12. วัตถุประสงค์ 1. บูรณาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก ในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชน (Integrated Care) 2. พัฒนาองค์ความรู้ และระบบการบริการ อนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐาน และอย่างต่อเนื่อง (Continuum of Care)

  13. เป้าหมาย 1.โรงพยาบาลทุกแห่งเข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทองอย่างน้อย จังหวัดละ 2 แห่ง

  14. ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV  โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ  ทันตสุขภาพ • ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว • ผลลัพธ์  ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ • ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 0.5 ต่อปี  เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 2.5 ต่อปี  เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90

  15. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เกณฑ์ประเมิน  เข้าร่วมโครงการ บริการอนามัยแม่และเด็ก  ระดับทองแดง กระบวนการคุณภาพ และระบบบริการคุณภาพ  ระดับเงิน ระดับทองแดง และ การมีส่วนร่วมของชุมชน  ระดับทอง ระดับเงิน และผลลัพธ์บริการ

  16. โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย ตัวชี้วัดหลัก เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 ตัวชี้วัดรอง 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 Wks.ร้อยละ 50 2. คลินิกเพื่อลูกกินนมแม่ 6 เดือน รพท./รพช. ร้อยละ 60/35 3. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเล่านิทานจากพ่อ/แม่/ญาติ ร้อยละ 35 4. รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์กระบวนการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 85

  17. ตัวชี้วัดรอง (ต่อ) 5.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่ รพท./รพช. ร้อยละ 60 / 50 6. รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลลูก เกิดรอดแม่ปลอดภัย ร้อยละ 90 7.MCH Board มีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ร้อยละ 100

  18. เป้าหมาย/ตัวชี้วัดงาน MCH ปี 2551 1.อัตรามารดาตายไม่เกิน 36:100,000การเกิดมีชีพ2. อัตราตายปริกำเนิดของทารกไม่เกิน 15 :1,000 การเกิด3. อัตราฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์12 Wks. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4. อัตราฝากครรภ์ครบ4 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 905. อัตราการคลอดในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 .

  19. 6..รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านการประเมินเป็นรพ.ลูกเกิดรอด – แม่ปลอดภัย ร้อยละ 907.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่รพท. ร้อยละ 60 รพช.ร้อยละ508.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ คลินิกนมแม่รพท.ร้อยละ60 รพช.ร้อยละ 359. MCH Boardมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ร้อยละ10010. เด็ก 0-5ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 9011.เด็ก 0-5ปี ได้รับการเล่านิทานจากพ่อ/แม่/ญาติ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ร้อยละ 35

  20. ผลการตรวจคัดกรอง TSH จากกระดาษซับเลือด ที่ระดับ TSH < 5 mU/L ปี 2550 ( ต.ค. 49- ก.ย. 50)

  21. ตัวชี้วัดปี2551 เด็กแรกเกิดอายุ 2วันขึ้นไปมีปริมาณThyroid Stimulating Hormone ( TSH )ในเลือดจากการเจาะเลือดส้นเท้าน้อยกว่า 5มล.ยูนิต/ลิตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

  22. การสำรวจครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ ปี2550

  23. โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติโครงการพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตัวชี้วัด ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ไอโอดีน ≥ 30 ppm) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

  24. ผลการประเมินรับรองมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ปี 2550

  25. จำนวนและร้อยละของเด็ก 0-5 ปีในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัยปี 50

  26. ตัวชี้วัดปี2551 1.ตำบลมีศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่อย่างน้อย 1แห่งต่อ1 ตำบล - ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับพื้นฐานร้อยละ 90 - ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดีและดีมากร้อยละ 40 2.ร้อยละ 90ของเด็ก 0-5ปี ในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัย(เพื่อพัฒนา IQ และ EQ ให้ได้มาตรฐานสากล )

  27. จำนวนและร้อยละเด็กอายุ 0-5ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักปี 50

  28. ตัวชี้วัด2551 เด็กอายุ 0-5ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ อายุ น้ำหนัก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

  29. เมตะบอลิก ซินโดรม (อ้วนลงพุง) กลุ่มของปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งเป็นผลจาก ไขมันในช่องท้องเกิน

  30. การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังตามเกณฑ์ของคนไทยการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังตามเกณฑ์ของคนไทย อายุ 6-14 ปี และ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2546 - 2549 ร้อยละ พ.ศ. เกณฑ์ : ระดับปานกลาง = เคลื่อนไหวออกแรง / ออกกำลัง วันละ 20 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน ระดับหนัก = เคลื่อนไหวออกแรง / ออกกำลัง วันละ 30นาที สัปดาห์ละ 5วัน แหล่งข้อมูล : กองโภชนาการ กรมอนามัย 2550

  31. ผลการวัดรอบเอวสมาชิกชมรมสร้างสุขภาพ ปี 2550

  32. ผลการวัดรอบเอวนักเรียน รร.มัธยมฯเขตเมืองปี 2550

  33. ตัวชี้วัดปี2551 1.ร้อยละ80ของชมรมสร้างสุขภาพวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง 2. ร้อยละ80ของรร.ส่งเสริมสุขภาพระดับชั้น ม. 4 - 6ในอำเภอเมืองวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง 3.ร้อยละ 80 ของหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด เขตอำเภอเมืองวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง

  34. ตัวชี้วัดปี 2551 4.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. ร้อยละ 85 5.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. ร้อยละ 65

  35. ตัวชี้วัดปี2551 4.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปมีการออกแรง/ เคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 30 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร้อยละ 79

  36. มหกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อมหกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อ 27 พ.ย.2550 ณ สวนสาธาณะริมชี กิจกรรม - เดินรณรงค์สร้างสุขภาพ 4 มุมเมือง - ประกวดการเต้นแอโรบิคของชมรมสร้างสุขภาพ - สาธิตการออกกำลังกายของชมรมผู้สูงอายุ - นิทรรศการอาหารลดพิษลดโรค/อาหารเพื่อ สุขภาพ - รณรงค์วัดรอบเอว - อื่นๆ

  37. ตัวชี้วัด • ร้อยละ 80 ของโรงเรียนทุกสังกัด • ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • ร้อยละ 40 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับทอง

  38. มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษามีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษา • ขนาดเล็ก ระดับเพชรอำเภอละอย่างน้อย • 1 โรงเรียน • มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษา • และขยายโอกาสขนาดใหญ่ ระดับเพชร • อำเภอละอย่างน้อย 1 โรงเรียน - มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมัธยมศึกษา ระดับเพชร อำเภอละอย่างน้อย 1 โรงเรียน

  39. ภาวะการคุมกำเนิด จังหวัดยโสธร ปี 2550 ตัวชี้วัด อัตราเพิ่มประชากรไม่เกินร้อยละ1

  40. งานสุขภาพจิต งานสุขภาพจิต

  41. อัตราพยายามฆ่าและฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2546-2550 เป้าหมายปี50 ฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.8 /แสนประชากร

  42. อัตราพยายามฆ่าและฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2550 (ต.ค.49- ก.ย.50) จำนวนคน

  43. งานสุขภาพจิต ตัวชี้วัดงานสุขภาพจิต ปี 2551

  44. ตัวชี้วัด ปี2551 ระดับกระทรวง 1.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6. 3ต่อแสนประชากร 2.ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสมอย่างน้อยร้อยละ 70

  45. ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด • 100 % ของสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ รพท./ • รพช./PCU./สอ. ต้องมีระบบการเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า • และเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย • 2.100%ของผู้ที่เคยพยายามฆ่าตัวตายได้รับการดูแลเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและไม่กลับมาฆ่าตัวตายซ้ำ • 3.อัตราการฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จลดลงร้อยละ 10ของปีที่แล้ว

  46. ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 4.100%ของผู้ป่วยโรคจิตได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการรักษาติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง 5.100%ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง 6.90 %ของกลุ่มเสี่ยง ( ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ติดสุราเรื้อรัง ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์สูญเสีย-ผิดหวัง ผู้ที่อยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงของชีวิต เช่น หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด วัยทอง วัยผู้สูงอายุ ) ได้รับการคัดกรองโรคซึมเศร้า

  47. ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 7.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือผู้มีปัญหาสุขภาพจิต และจิตเวชในชุมชน 8.100%ของเด็กอายุ 1-6 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองออทิสติก 9.100 %ของเด็กออทิสติกได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการดูแล 10.100% ของเด็กอายุ 3-5ปี ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้าน IQ และ EQ

  48. ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 11. 100% ของรพท. มีการพัฒนาศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต. (MCC.)หรือ Mental health Crisis center และศูนย์พึ่งได้ (OSCC.) หรือOne Stop Crisis Center 12. 100%ของ รพช. มีการจัดตั้งศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต. (MCC.) (และศูนย์พึ่งได้ ( OSCC. ) 13.95 % ของประชาชนที่อยู่ในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตได้รับการ ดูแลช่วยเหลือที่ถูกต้องและทันเวลา 14. 95 % ของเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง ได้รับการดูแลช่วยเหลือ อย่างถูกต้องและทันเวลา

  49. งานสุขภาพจิต แนวทางการดำเนินงาน สุขภาพจิต ปี 2551

More Related