1 / 20

ที่มาของโครงการ เป้า ประสงค์โครงการ พื้นที่นำร่อง โครงการและกรอบการดำเนินงาน

ภาพรวมการ นำเสนอ. ที่มาของโครงการ เป้า ประสงค์โครงการ พื้นที่นำร่อง โครงการและกรอบการดำเนินงาน โครงสร้างการบริหารโครงการ กิจกรรม หลักของ โครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน การจัดสรรงบประมาณโครงการ กรอบเวลาดำเนินงาน. ที่มาของโครงการ. เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานหลัก อันได้แก่.

lok
Download Presentation

ที่มาของโครงการ เป้า ประสงค์โครงการ พื้นที่นำร่อง โครงการและกรอบการดำเนินงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาพรวมการนำเสนอ ที่มาของโครงการ เป้าประสงค์โครงการ พื้นที่นำร่องโครงการและกรอบการดำเนินงาน โครงสร้างการบริหารโครงการ กิจกรรมหลักของโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน การจัดสรรงบประมาณโครงการ กรอบเวลาดำเนินงาน

  2. ที่มาของโครงการ เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานหลัก อันได้แก่ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (DNP) Global Environmental Facility(GEF) United nations development programme (UNDP) ภายใต้ชื่อ โครงการ เร่งเสริมความยั่งยืนการจัดการระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง Catalyzing sustainability of thailand’s protected area system (CATSPA) ระยะเวลาดำเนินงาน 2555-2558 (4ปี)

  3. เป้าประสงค์ของโครการ ขจัดปัญหาอุปสรรคต่อการจัดการและพัฒนาระบบงบประมาณที่ยั่งยืนในการบริหารพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย โดยมุ่งการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ทั้งในระดับชาติและระดับชุมชนผ่านการใช้กระบวนการเครื่องมือมาตรฐานเพื่อยกระดับประสิทธิภาพด้านการจัดการและระบบงบประมาณที่ยั่งยืน การเสริมศักยภาพบุคลากรและองค์กร ตลอดจนการประเมินมูลค่าและ กลไกการจัดเก็บค่าแทนคุณระบบนิเวศ เพื่อเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง นำไปสู่ความยั่งยืนของพื้นที่คุ้มครองในที่สุด

  4. พื้นที่นำร่องโครงการ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง อุทยานแห่งชาติคลองลาน พื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อุทยานแห่งชาติตะรุเตา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

  5. กรอบการดำเนินโครงการ ทดลองดำเนินงานในระดับพื้นที่ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือ แนวทางดำเนินงาน เพื่อพัฒนาต้นแบบและขยายผลในอนาคต ขอบเขตการดำเนินงานระดับชาติ เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงานในระดับพื้นที่ การประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน สรุปบทเรียนจัดการความรู้ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและสนับสนุน ตลอดจนเสนอแนะทิศทางเชิงนโยบาย เตรียมโครงสร้างองค์กรและเสริมศํกยภาพบุคคล เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  6. คณะกรรมการบริหารโครงการคณะกรรมการบริหารโครงการ ๑. ออส. ๒. รองออส. ๓. ผู้อำนวยการสำนักอุทยานแห่งชาติ ๔. ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า ๕. ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและสารสนเทศ ๖. ผู้แทนสำนักงานปลัดกระทรวงฯ ๗. ผู้แทน สผ. ๘. ผู้แทน สพร. ๙. ผู้แทนสำนักงบประมาณ ๑๐. ผู้แทน สศช. ๘. ผู้แทนกรมป่าไม้ ๙. ผู้แทนกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ๑๐. ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๑. ผู้แทนคณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๑๒. ผู้แทนการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ๑๓. ผู้แทนสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ๑๔. ผู้แทนสหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN) ๑๕. ผู้แทน WWF ประจำประเทศไทย ๑๖. ผู้แทนสำนักงานโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (UNDP) ๑๗. ผู้แทนการ กฟผ. ๑๘. ผู้แทนบริษัท ปตท.สผ. ๑๙. ผู้แทน กปภ. ๒๐. ผู้แทน กปน. ๒๒. ผู้แทน ททท. ๒๓. ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวฯ ๒๔. ผู้อำนวยการโครงการ(เลขานุการกรรมการฯ) ๒๕. ผู้จัดการโครงการ (ผู้ช่วยเลขาฯ)

  7. คณะกรรมการบริหารโครงการคณะกรรมการบริหารโครงการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช(อส) ประธานกรรมการ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จากหน่วยงานอื่น ทั้งภาครัฐและองค์กรพัฒนาภาคเอกชน คณะที่ปรึกษาเฉพาะด้าน ผู้รับรองคุณภาพโครงการ UNDP หน่วยปฏิบัติ • ผู้อำนวยการโครงการ (อส) • ผู้จัดการโครงการ (ว่าจ้าง) Effectiveness Unit (อส) ผู้ประสานงานในพื้นที่และโครงการ (อส) งานด้านวิชาการ งานด้านการบริหารโครงการ โครงสร้างโครงการ

  8. กิจกรรมหลักของโครงการกิจกรรมหลักของโครงการ ผลสัมฤทธิ์ 1:การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีอันจะเอื้อประโยชน์ต่อความยั่งยืนของระบบพื้นที่คุ้มครอง • พัฒนายุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยแนวใหม่ ( 5 ปี ) • กรอบนโนบายและกลไกเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีอื่นๆในระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง • ระบบฐานข้อมูลเพื่อประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการจัดการ การติดตามประเมินผล ปละตัดสินใจเชิงนโยบาย ผลสัมฤทธิ์ 2:การเพิ่มศักยภาพขององค์กรและบุคลากร • สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง • หลักสูตรและกระบวนการเสริมศักยภาพเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง

  9. กิจกรรมหลักของโครงการ (ต่อ) ผลสัมฤทธ์ 3: กลไกการสร้างรายได้ และแนวทางการจัดการใหม่ๆ นำไปสู่งบประมาณและประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เพิ่มขึ้นทั้งระดับพื้นที่และระบบพื้นที่คุ้มครอง • กรอบการวางแผนกาจัดการพื้นที่คุ้มครองแบบบูรณาการ ตลอดจนเครื่องมือ วิธีการใหม่ และการทดลองดำเนินการในพื้นที่นำร่อง • กลไกด้านงบประมาณพื้นที่คุ้มครอง • กลไกช่องทางการมีส่วนร่วมกับการบริหารพื้นที่คุ้มครองในระดับพื้นที่ • ศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของสบอ.ในการประสานความสนับสนุนและงบประมาณเพื่อการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ ผลสัมฤทธ์ 4: ต้นแบบของการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ • ยุทธศาสตร์และสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและระดมความสนับสนุน • สรุปบทเรียนโครงการสำหรับการขยายผลและการตัดสินใจเชิงนโยบาย

  10. เครื่องมือหลักในการทำงานเครื่องมือหลักในการทำงาน เครื่องมือติดตามประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (Management Effectiveness Tracking Tool:METT) แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินสำหรับพื้นที่คุ้มครอง (UNDP Financial Sustainability Scorecard) ค่าแทนคุณระบบนิเวศ(Payment for ecosystem service: PES)

  11. คุณค่าที่ได้รับการยอมรับ (Recognizing value)a feature of all human societies and communities • คุณค่าที่พิสูจน์ได้ (Demonstrating value)in economic terms, to support decision making • คุณค่าที่ประเมินค่าได้ (Capturing value)introduce mechanisms that incorporate the values of ecosystems into decision making ค่าแทนคุณระบบนิเวศPayment for ecosystem service(PES) ที่มา:คุณปิยะทิพย์ ECO-BEST project, GIZ

  12. งบประมาณโครงการ เป็นเงินนอกงบประมาณเพื่ออุดหนุนโครงการ 3.36 ล้านUSD เป็นส่วนสมทบที่ไม่เป็นตัวเงิน 14.2 ล้าน USD

  13. ผลสัมฤทธิ์ 1:ธรรมาภิบาลและองค์ประกอบแวดล้อมของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เอื้อความยั่งยืนของระบบพื้นที่คุ้มครอง (24 ล้านบาท)

  14. ผลสัมฤทธิ์ 2:ศักยภาพขององค์กรและบุคลากรเพิ่มมากขึ้น (14.82 ล้านบาท)

  15. ผลสัมฤทธ์ 3: กลไกการสร้างรายได้ และแนวทางการจัดการใหม่ๆ นำไปสู่งบประมาณและ ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เพิ่มขึ้นทั้งในระดับพื้นที่และระบบพื้นที่คุ้มครอง (43.74 ล้านบาท)

  16. ผลสัมฤทธ์ 4: ต้นแบบการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่และการขยายผล (6.99 ล้านบาท)

  17. แผนงานกิจกรรมโครงการ ต.ค. 55 - ธ.ค. 56

More Related