80 likes | 222 Views
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่. ความเป็นมา
E N D
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชนบ้านห้วยลากปืนใน ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ ความเป็นมา แพร่เป็นเขตป่าต้นน้ำสำคัญของประเทศ สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง สลับซับซ้อน จากสภาวะโลกร้อน ส่งผลให้แพร่กลายเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ ในอัตราสูงแห่งหนึ่งของประเทศ เกิดพายุฤดูร้อนต่อเนื่องทุกปีและทวีความรุนแรงมากขึ้น ในขณะเดียวกันปัญหาความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นทำให้ปัญหาไฟป่ากำลังส่งผลต่อสภาวะในอากาศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และจากสถิติพบว่าปัญหาน้ำป่าก็รุนแรงหนักเช่นกัน ในปี 2544 น้ำป่าทำลายบ้านเรือนผู้คนใน 3 ตำบลของอำเภอวังชิ้น ที่ลุ่มน้ำสรอยและลุ่มน้ำแม่พุง มีผู้เสียชีวิตภายในคืนเดียวพร้อมกันถึง 40 ราย ปี 2549 เกิดน้ำป่ารุนแรงขึ้นอีกในเทือกเขารอยต่อแพร่อุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ได้รับผลกระทบถึง 3 อำเภอคือ อ.เด่นชัย อ.สูงเม่น และ อ.เมืองแพร่ และจากนี้ไป ไม่มีใครยืนยันได้ว่า ภัยพิบัติจะไม่เกิดขึ้นในจังหวัดแพร่อีก และปัญหานี้ประชาชนกำลังให้ความสำคัญ
จุดเริ่มต้นโครงการฟื้นฟูภัยพิบัติโดยชุมชนบ้านห้วยลากปืนจุดเริ่มต้นโครงการฟื้นฟูภัยพิบัติโดยชุมชนบ้านห้วยลากปืน • ปี 2549 ชาวบ้านต้องเผชิญกับปัญหาน้ำป่ารุนแรง ส่งผลกระทบหลายด้าน • การช่วยเหลือภัยพิบัติจากทางการไม่ตรงความต้องการ • ในขณะที่การใช้ทรัพยากร ของชาวบ้านและราชการ ไม่รับผิดชอบต่อธรรมชาติ • ปัญหาพืชผลเกษตรที่ประสบสภาวะขาดทุน • ชุมชนยังคิดเรื่องการอยู่อย่างพอเพียง ไม่ติดไปทำงานต่างพื้นที่และอยู่กับดินน้ำป่าบ้านของตนเอง
เกิดเวทีชาวบ้านสรุปบทเรียนประเมินสถานการณ์ในพื้นที่หาทางออกชาวบ้านพบหลายประเด็นน่าสนใจเกิดเวทีชาวบ้านสรุปบทเรียนประเมินสถานการณ์ในพื้นที่หาทางออกชาวบ้านพบหลายประเด็นน่าสนใจ • จากประวัติของชุมชน -ชาวบ้านอยู่มานานก่อนกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ อาศัยป่ายังชีพ -ป่าไม้ในอดีตให้ความชุ่มชื้นตลอดทั้งปี ไม่แห้งแล้ง -ป่าให้ปัจจัย 4 กับชุมชนได้ใช้อย่างเพียงพอ -ชาวบ้านเชื่อว่าป่ามี “ผี” ดูแลไม่ลบหลู่
สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริงสิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง • ศึกษาพื้นที่เสี่ยงภัยในชุมชน • พบพื้นที่ดินถล่มมากกว่า 20 แห่งในลำห้วยลากปืน • พบป่าไม้สักของ ออป.ต้นเหตุดินพังทลาย • พบชาวบ้านไม่ให้ความสำคัญกับลำห้วย สร้างขยะในลำห้วย • พบว่าพืชเชิงเดี่ยวของชาวบ้านก็คือตัวทำให้ดินพังทลายเร็วขึ้น • ค้นหาคนทำงานและปราชญ์ของชุมชน ผู้นำทางพิธีกรรม หมอพื้นบ้าน • ได้ผู้นำในระบบ ผญบ.อบต. กำนัน พระสงฆ์ ที่มีใจ • ได้ผู้นำธรรมชาติ หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน
สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริงสิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง • ร่วมสำรวจป่าหาสาเหตุสำคัญ ในการแก้ปัญหาและต้นเหตุของปัญหา • ได้หมอพื้นบ้านเป็นผู้รู้ในการนำสำรวจไปตามเส้นทางหาสมุนไพร • ได้ชุดความรู้การเฝ้าระวังภัยพิบัติ ด้วยการดูต้นไม้ และสัตว์ป่า • เกิดสำนึกรักป่า ชาวบ้านหันมาฟื้นฟูการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค • พบพืชพันธุ์ท้องถิ่นหลายชนิดลดลงไปเกิดการเพาะพันธุ์พืชท้องถิ่นคืนป่า
สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริงสิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง • สำรวจชุมชน ที่อยู่อาศัย ที่ปลอดภัย เก็บข้อมูล • ทำฐานข้อมูลชุมชน ที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตร สิ่งสาธารณะประโยชน์ • กำหนดจุดปลอดภัย • ฝึกอาสาสมัคร และ ฝืกเตือนภัย • เกิดกองทุน (ยังไม่ชัด)
สิ่งที่ได้จากการทำงานในรอบ 1 ปี • พบชุมชนมีการเฝ้าระวังโดยวัฒนธรรม • การดูต้นไม้ สัตว์ป่า พยากรณ์อากาศ • การตั้งถิ่นฐานที่อยู่ไม่รุกล้ำที่ลุ่ม • หมอยามีวิธีรักษาป่าและเข้าใจนิเวศน์ของป่ามากกว่าหน่วยงานรัฐ
ยกระดับชุมชนห้วยลากปืนสู่ลุ่มน้ำแม่พวกยกระดับชุมชนห้วยลากปืนสู่ลุ่มน้ำแม่พวก • นำแนวคิดของห้วยลากปืน สู่การฟื้นฟูร่วมกันในลุ่มน้ำ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ