1 / 23

ศิลปกรรมที่เกิ ดขึ้นใน อินเดีย

ศิลปกรรมที่เกิ ดขึ้นใน อินเดีย. ศ. ศิลปะแบบอินเดีย. ศิลปะคุปตะ. ศิลปะทมิฬ. ศิลปะปาลเสนะ. ศิลปะคุปตะ. เกิดในสมัยราชวงศ์คุปตะ พุทธศตวรรษที่ ๙ – ๑๓ ทางภาคเหนือของดินเดีย. เป็นยุคที่มีความเจริญสูงสุดในทุกด้าน ปรัชญา ศาสนา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม.

lonato
Download Presentation

ศิลปกรรมที่เกิ ดขึ้นใน อินเดีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดียศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดีย ศ

  2. ศิลปะแบบอินเดีย ศิลปะคุปตะ ศิลปะทมิฬ ศิลปะปาลเสนะ

  3. ศิลปะคุปตะ

  4. เกิดในสมัยราชวงศ์คุปตะ พุทธศตวรรษที่ ๙ – ๑๓ ทางภาคเหนือของดินเดีย เป็นยุคที่มีความเจริญสูงสุดในทุกด้าน ปรัชญา ศาสนา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ในยุคนี้วรรณกรรมที่มีความสำคัญ มหากาพย์มหาภารตะ และ รามายณะ

  5. ประติมากรรม ศิลปะสมัยคุปตะส่วนใหญ่เป็นประติมากรรมรูปมนุษย์มิใช่รูปสัตว์ หรือรูปมนุษย์ที่อยู่กับธรรมชาติ หรือถ้ามีก็เป็นเพียงส่วนประกอบเท่านั้น ศิลปะคุปตะได้ถ่ายทอดสุนทรียภาพทางความงามออกมาให้ปรากฏ โดยการสร้างมนุษย์ให้มีความงาม สมบูรณ์แบบ เหมือนวัยหนุ่มสาว ประติมากรรมที่สร้างขึ้นจะเนียนเรียบ อาภรณ์ที่สวมใส่ก็แนบเนื้อ เหมือนผ้าที่เปียกน้ำ ทำให้แทบมองทะลุเข้าไปเนื้อในได้

  6. ตัวอย่างปฏิมากรรมในสมัยคุปตะตัวอย่างปฏิมากรรมในสมัยคุปตะ

  7. สถาปัตยกรรม ในสมัยคุปตะนี้มีความงดงามเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยก่อนๆเช่น ที่ถ้ำอชันตา ( Ajanta ) ได้เปลี่ยนแปลงไป ตั้งแต่รูปร่างของเสาที่กลายเป็นการประดับตกแต่งลวดลายต่างๆ อย่างมากมาย มีบัวหัวเสารูปร่างคล้ายผ้าโพกหัวแขก วงโค้งรูปเกือกม้าที่เรียกว่า กูฑุ มีขนาดเล็กลงไปอีก และกลายเป็นเครื่องประดับตกแต่งอย่างธรรมดา ผนังถ้ำประดับประดาไปด้วยเครื่องตกแต่ง พระพุทธรูปในช่วงปลายของศิลปะคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓) สถาปัตยกรรมของอินเดียก็ยังมีความงดงามอยู่ แต่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ เสาต่างๆเริ่มมีรูปร่างใหญ่ขึ้น และบางครั้งก็มีบัวหัวเสารูปผ้าโพกหัวแขกขนาดใหญ่ รวมทั้งฐานของเสาที่สูงขึ้นมากจนเกือบทำให้ลำตัวของเสาหายไป

  8. ตัวอย่างสถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะตัวอย่างสถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะ สไลด์ภาพถ้ำไกรลาส สไลด์ภาพถ้ำอซันตา

  9. ศิลปะทมิฬ

  10. ศิลปะแบบทมิฬแบบที่เก่าสุดมีประติมากรรมจากศิลา รูปสำริดและรูปสลักจากไม้ ประติมากรรมสำริดที่รู้จักกันดีคือ รูปพระศิวนาฏราชฟ้อนรำอยู่ในวงเปลวไฟ สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่หลังคาสร้างเป็นหินซ้อนกันเป็นชั้นเช่น สถาปัตยกรรมที่เป็นเทวสถานใหญ่ชื่อลิงคราชที่เมืองภูวเนศวร 

  11. สมัยทมิฬ

  12. ศิลปะปาลเสนะ

  13. เกิดในภาคเหนือราชวงศ์ปาละ-เสนะ  ในแคว้นเบงคอลและพิหารระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14-18  พุทศาสนาลัทธิตันตระซึ่งกลายมาจากลัทธิมหายาน โดยผสมความเชื่อในลัทธิฮินดูเข้าไป ส่วนประติมากรรมมีทั้งภาพสลักจากศิลาและหล่อจากสำริดทั้งทางพุทธศาสนาและตามคติแบบฮินดู  ประติมากรรมสลักจากศิลาในสมัยนี้แบ่งออกเป็น 3 ยุคคือ ยุคแรกพุทธศตวรรรษที่ 14-15 มีพระโพธิสัตว์และพระพุทธรูปทรงเครื่อง ยุคสองพุทธศตวรรษที่ 16-17 พระพุทธรูปทรงเครื่องมากขึ้น สร้างตามคตินิยมลัทธิตันตระ ยุคที่สามยุคราชวงศ์เสนะ พุทธศตวรรษที่ 18 นับถือศาสนาฮินดูจึงเป็นยุคของประติมากรรมแบบฮินดู

  14. สมัยปาละเสนะ

  15. บาศกนิยม

  16. เป็นความเคลื่อนไหวทางศิลปะอาวองการ์ด เป็นความเคลื่อนไหวทางศิลปะอาวองการ์ด ในศตวรรษที่ 20 ริเริ่มโดย ปาโบล ปีกัสโซ (Pablo Picasso) และ จอร์จส์ บราค (Georges Braque) ได้เปลี่ยนรูปโฉมของจิตรกรรมและประติมากรรมสไตล์ยุโรป รวมไปถึงดนตรีและงานเขียนที่เกี่ยวข้อง ในผลงานศิลปะของบาศกนิยมนั้น วัตถุจะถูกทำให้แตกเป็นชิ้น วิเคราะห์ และประกอบกลับขึ้นมาใหม่ จิตรกรนั้นได้ถ่ายทอดวัตถุจากหลายแง่มุมเพื่อที่จะแสดงให้เห็นถึงวัตถุที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่กว้างขึ้น บ่อยครั้งนักที่ผืนราบดูเหมือนจะตัดกันในมุมที่เป็นไปโดยบังเอิญ ปราศจากความสอดคล้องของความลึก ส่วนพื้นหลังและผืนราบแทรกเข้าไปในระหว่างกันและกันเพื่อที่จะทำให้เกิดพื้นที่ที่ไม่ชัดเจนอย่างผิวเผิน ซึ่งเป็นหนึ่งในคุณลักษณะเฉพาะของบาศกนิยม

  17. บาศกนิยมแบบวิเคราะห์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1908 และ 1912 ได้วิเคราะห์รูปทรงธรรมชาติและลดทอนรูปทรงนั้นลงไปยังรูปทรงเรขาคณิตที่เรียบง่ายบนรูประนาบสองมิติ สีเกือบจะเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตนเว้นแต่ว่าจะเป็นการใช้สีแบบโทนเดียวซึ่งส่วนใหญ่นั้นรวมไปถึงสีเทา สีน้ำเงิน และสีเหลืองอมน้ำตาล แทนที่จะเน้นการใช้สีนั้นนักบาศกนิยมแบบวิเคราะห์ได้ให้ความสนใจกับรูปทรงมากกว่าเช่น ทรงกระบอก ทรงกลม ทรงกรวย เพื่อที่จะอธิบายให้เห็นถึงโลกธรรมชาติ

  18. ตัวอย่างภาพบาศกนิยม แบบวิเคราะห์

  19. บาศกนิยมแบบสังเคราะห์บาศกนิยมแบบสังเคราะห์ บาศกนิยมแบบสังเคราะห์เป็นความเคลื่อนไหวที่สำคัญลำดับที่สามของบาศกนิยมที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยปีกัสโซ บราค ยวน กริซ และคนอื่นระหว่างปี 1912 และ 1919 บาศกนิยมแบบสังเคราะห์ถูกจำแนกคุณลักษณะโดยการริเริ่มของความแตกต่างในพื้นผิว ผิวหน้า องค์ประกอบที่ถูกปะติดปะต่อกัน กระดาษที่ถูกต่อกัน (papiercolle) และความหลากหลายของการรวมกันของสสาร มันเป็นจุดเริ่มต้นของวัสดุที่ใช้ในการปะติดปะต่อกันที่ถือว่าเป็นส่วนผสมที่สำคัญของงานวิจิตรศิลป์

  20. ตัวอย่างภาพบาศกนิยม แบบสังเคราะห์

  21. บาศกนิยมแบบวิเคราะห์ที่เป็นการวิเคราะห์ของวัตถุ ที่แตกวัตถุออกมาในรูปของสองมิติ บาศกนิยมแบบสังเคราะห์นั้นเป็นเหมือนกับการดันวัตถุหลายชิ้นเข้าด้วยกัน

  22. บาศกนิยมอีกมากมาย

  23. THE END

More Related