310 likes | 451 Views
แนวทางการให้การศึกษาเซนต์คาเบรียล. โดยภราดา หลุยส์โบวิโน 2004. มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล. พินัยกรรมของมงฟอร์ต (27 เมย. 1716)/ ช่วงนั้นมีภราดา 4 คนบริหารโรงเรียนการกุศล (ที่เร็นน์ มงฟอร์ตเยี่ยมคนยากจนในโรงพยาบาล) สังคายนาเตร็นโตเน้นการสอนคำสอนเพื่อต่อสู้กับลัทธิคัลวินและลูเธอร์
E N D
แนวทางการให้การศึกษาเซนต์คาเบรียลแนวทางการให้การศึกษาเซนต์คาเบรียล โดยภราดา หลุยส์โบวิโน 2004
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • พินัยกรรมของมงฟอร์ต (27 เมย. 1716)/ ช่วงนั้นมีภราดา 4 คนบริหารโรงเรียนการกุศล • (ที่เร็นน์ มงฟอร์ตเยี่ยมคนยากจนในโรงพยาบาล) • สังคายนาเตร็นโตเน้นการสอนคำสอนเพื่อต่อสู้กับลัทธิคัลวินและลูเธอร์ • มีการให้ความสนใจโรงเรียนการกุศลมาก การให้การศึกษาคือการประกาศพระราชัยของพระเจ้า
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • การศึกษาในหมู่บ้านด้อยคุณภาพ • ห้องเรียนบางทีก็เป็นที่วัด โรงรถ บ้านครู บ้านเช่า • ครูบางทีก็เป็นคนจัดวัด สัปเหร่อ นักขับร้อง สอนเป็นงานอดิเรกเท่านั้น • การศึกษาในเมือง • ครูงกเงิน • เด็กจนถูกปฏิเสธ • การแก้ปัญหา ตั้งโรงเรียนการกุศล • พระสงฆ์ตั้งโรงเรียน ฆราวาสสนับสนุนการเงิน • แต่ขาดครูที่มีคุณภาพ
ผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศลผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศล • ชารล์เดมียา (1637-1689) • ให้การศึกษาแก่เยาวชนลียองส์ที่เตร็ดเตร่ เอาแต่ดื่มและลักขโมย • ติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อสร้างโรงเรียนสำหรับเยาวชนเหล่านี้ ดีกว่าการให้ทานไปวันๆ มีแต่ได้กับได้ • 1) ปวงชนปลอดภัย 2) ใช้จ่ายน้อยกว่า 3) ให้ศักดิ์ศรีแก่คนจน (เยาวชน)
ผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศลผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศล • ให้การศึกษาแต่เนิ่นๆ ทั้งหมด 8 ปี มีความทัดเทียมกันทั้งสองเพศ • ฝึกครูที่มีคุณภาพ • ใช้บ้านเณรฝึกพระสงฆ์และฆราวาส สอนเด็กๆ • ตั้งคณะซิสเตอร์เซนต์ชารล์เพื่อดูแลนักเรียนหญิง • มีคณะบริหารเพื่อจัดการโรงเรียน ดูแลครูและติดตามนักเรียน
ผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศลผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศล • นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน • มีหัวหน้านักเรียนรับผิดชอบนักเรียนอื่น 10 คน • มีพระสงฆ์ดูแลฝ่ายจิต (อนุศาสนจารย์) • มีผู้เยี่ยมเยียนผู้ปกครองเมื่อเด็กขาดเรียน • มีนายทะเบียน นำเด็กหนีเรียน เด็กกำพร้า เด็กยากจนมาเข้าเรียน • มีครูผู้ช่วยดูแลเรื่องการอ่านเขียน • มีคนกวาดถนน พนักงานธุรการ
ผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศลผู้ริเริ่มโรงเรียนการกุศล • น.ยอห์นแบบติส เดอะลาซาล (1651-1719) • มีการศึกษาสูง ถูกขอให้มาช่วยบริหารโรงเรียนที่เร็มส์ • เห็นความจำเป็นที่ต้องมีครูคุณภาพ เลยฝึกชายหนุ่มขึ้นมากลุ่มหนึ่ง ซึ่งกลายเป็นภราดาลาซาล ได้ตั้งบ้านเณรเพื่อฝึกครูสำหรับชนบท • ได้บริหารโรงเรียนที่แซงซุลพิส • ได้เขียนหนังสือมากมาย
น.ยอห์นแบบติส เดอะลาซาล (1651-1719) • แนวทางการบริหารโรงเรียนการกุศลของท่าน • นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ • สอนภาษาแม่ (ฝรั่งเศส) เน้นภาษาลาตินน้อย • ให้การศึกษาเพื่อไปทำมาหากินและเพื่อชีวิต • ทุกคนได้สิทธิ์ในการเรียนศิลป์ในการเขียน • มีการฝึกฝนครูแบบบูรณากาล (ทุกด้าน) • การให้การศึกษาเป็นวิธีการหนึ่งที่ดีที่สุดในการประกาศข่าวดี • ภราดาถือชีวิตกลุ่ม การอยู่ประจำที่และความนบนอบ ต้องมีภราดาอย่างน้อย 3 คนต่อโรงเรียน
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • คงเรียนรู้จากยอห์นแบบติส ตอนอยู่แซงซุลพิส • สังฆราชพอยพ์ซึ่งคุ้นเคยกับ ชารล์เดมียา ขอให้มองฟอร์ตมาช่วยบริหารโรงเรียนสำหรับเด็กยากจน • ณ ลาโรแชล (1711-15) ได้มีการตั้งโรงเรียนเพื่อต่อสู้กับพวกโปรแตสตันท์ที่บริหารโรงเรียนเช่นกัน พระสังฆราชชังฟลูเห็นชอบ
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • การจัดห้องเรียนแบบอัฒจรรย์ โต๊ะครูอยู่ตรงกลาง ม้านั่งเซราฟิมสูงหน่อยสำหรับนักเรียนที่เรียนเก่งและได้รับศีลมหาสนิทแล้ว มีม้านั่งอีก 4 ตัวถัดไปตามชื่อเทวดาบนสวรรค์ นักเรียนนั่งตามอายุและความสามารถในการเรียน • ปี 1714 โรงเรียนมีแค่ 3 ชั้น ภราดาหลุยส์ ณ ลาโรแชลเป็นครูคนหนึ่งในจำนวน 3 คน • ปี 1715 เปิดโรงเรียนเพื่อนักเรียนหญิง ซิสเตอร์คณะปัญญาญาณดูแล
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • เป้าหมายของโรงเรียน:ฝึกฝนเยาวชนให้ครบครันโดยการกุศลอย่างเดียว เพื่อพระสิริโรจนาของพระเป็นเจ้า ความรอดของวิญญาณและความครบครันของแต่ละคน การกุศลอย่างเดียว: การขอทางตรงหรือทางอ้อมจากเด็กหรือผู้ปกครองของเด็ก ในรูปเงินหรือสิ่งของ เป็นความผิดใหญ่มหันต์ (มงฟอร์ตได้ทดลองกับคณะซิสเตอร์ว่าจะทำจริงหรือเปล่า แต่ซิสเตอร์ก็ไม่เพลี่ยงพล้ำ)
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • การสอนและการมุ่งถึงความครบครัน • เรียน 5 วัน: 8.00-10.30; 14.00-16.30 ใช้เวลาเรียนอ่านเขียนและเลข 3 ชม. (การเรียน) ใช้เวลา 2 ชม. ในการสวดภาวนา เรียนศาสนา ร่วมมิซซา (ตอนเช้า) และสวดสายประคำ (ตอนเย็น) นี่คือการทำให้ครบครัน
รูปแบบจากโรงเรียนซิสเตอร์ (DW) • วินัยและความเงียบ • เดินเข้าห้องเรียนเป็นคู่ในความเงียบสงบเสงี่ยม (8.00 น.) • จุ่มน้ำเสกแล้วกล่าว “ขอบพระคุณพระเจ้า” เดินไปยังที่ประจำ คุกเข่าประนมมือ • สวดเช้า วอนขอพระจิตเจ้า (ใช้เพลง) • แล้วยืน (ตามสัญญาณแรก) แล้วคำนับพระเยซูเจ้าและพระแม่ (สัญญาณสอง) แล้วนั่งลง (สัญญาณสาม) • ทำสำคัญกางเขน สวดบทแสดงความเชื่อ ความวางใจและความรัก บทแสดงความทุกข์ ถวายวันนั้นให้พระเยซูเจ้า และขออารักขเทวทูตให้ช่วย
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • กรังเด (Grandet):นักเรียนทุกคนใช้บทเรียนเล่มเดียวกัน อ่านบทเดียวกันพร้อมๆกัน เด็กเก่งช่วยแก้เด็กอ่อน • โคลริวิแอร์ (Clorivière):มงฟอร์ตเมื่อว่างจะเยี่ยมโรงเรียนกุศลเหล่านี้ เพื่อฝึกอบรมทั้งครูและนักเรียนตามวิสัยทัศน์ของท่าน ในไม่ช้าชาวบ้าน ผู้พบเห็นก็ชมเด็กๆ แทนที่สาปแช่ง
มงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศลมงฟอร์ตและโรงเรียนการกุศล • ธรรมนูญที่มอบให้แก่คณะสงฆ์มงฟอร์ต • “เป็นการยากที่สุดที่จะพบครูสอนคำสอนที่สมบูรณ์แบบ ยากกว่านักเทศน์ฝีปากเอก” • “ให้นักเรียนท่องจำบทเรียนด้วยคำถามคำตอบที่สั้นชัดเจน ดึงดูดความสนใจของนักเรียนด้วยนิทานสั้นๆ ชมและให้รางวัล ถามหลายๆ คน ปลูกฝังบทเรียนในใจเด็กด้วยคำภาวนาและคำชักจูงที่เร้าใจ”
คพ.คาเบรียลเดแอส์ (1767-1841) • มาจากครอบครัวยากจน เป็นผู้รณรงค์ที่ต้องหลบๆ ซ่อนๆ ได้รับบวชเป็นสงฆ์ในเกาะเยอร์ซี ประเทศอังกฤษ • ปี 1821 ช่วยให้ธรรมนูญของคณะซิสเตอร์และสงฆ์ได้รับการอนุมัติ และมงฟอร์ตได้เป็นบุญราศี • 21 ธันวาคม 1841 หกวันก่อนจากไป ได้มอบโครงการสำหรับคนตาบอดต่อหน้าคณะซิสเตอร์ 300 คน • เห็นความจำเป็นที่ต้องมีโรงเรียนเพื่อต่อต้านพิษร้ายของปฏิวัติฝรั่งเศส • ด้วยความช่วยเหลือของคณะลาซาล มีการฝึกครูเพื่อชนบท แต่ไม่ยึดกฎต้องมี 3 คน
โรงเรียนสำหรับคนหูหนวกโรงเรียนสำหรับคนหูหนวก • ท่านได้มอบเด็กหญิง 2-3 คนให้คณะซิสเตอร์เซนต์ยอนห์อื้ดส์ แต่หลังจากนั้นได้ขอให้คุณดือเลร์ (Duler) ฆราวาสหญิงดูแล เธอเป็นคนมีการศึกษาจากปารีส ต่อจากเธอก็มอบงานนี้ให้คณะซิสเตอร์ปัญญาญาณ งานสอนคนหูหนวกนี้ได้รับการเห็นชอบจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 • คุณฮัมฟรี (ฆราวาสชาย) สัตบุรุษวัดโอเร (Auray)เป็นผู้ดูแลเด็กหูหนวกชาย ต่อไปก็มอบหมายให้คณะภราดาปี 1842 • ปี 1828 คาดว่าอาจตายในไม่ช้า ได้มอบหมายให้ภ.ออกันตีนดูแลเด็กหูหนวกใบ้ • ปี 1841 พินัยกรรม: “ข้าพเจ้าขอร้องเป็นพิเศษคำภาวนาเพื่อนักเรียนทุกคนโดยเฉพาะเด็กหูหนวกใบ้”
โรงเรียนสำหรับคนหูหนวกโรงเรียนสำหรับคนหูหนวก • ภราดาค้นคว้าเกี่ยวกับการสอน พิมพ์เผยแพร่ ประเมิน เดินทางทั้งในและนอกประเทศเกี่ยวกับเรื่องนี้ • ภราดาเป็นผู้นำในการสอนเด็นหูหนวกทั้งในเนื้อหาและวิธีการสอน • ภ.อเล็กซิส (1850) ได้เขียนตำราการใช้มือและนิ้วในการสื่อสาร • ภ.เอ็นเซล็ม(Anselme 1849) ตำราการสอนฝรั่งเศสแก่เด็กหูหนวกใบ้ • ภ.เบอร์นาร์ด (Bernard 1852-53) เขียนตำราการออกเสียงโดยการใช้เครื่องหมายใกล้ปาก ประสพผลสำเร็จ
โรงเรียนสำหรับคนหูหนวกโรงเรียนสำหรับคนหูหนวก • 14 สค -10 กย 1845 มีการประชุมสภาที่ลูดอง (Ludon)ภ.สิบคนร่วมด้วย ประเมินตำราของภ.เบอร์นาร์ด นำเสนอจิตวิทยาการสอนที่เรียบง่าย และการฝึกครูสอนเด็หูหนวก • สภามิลาน (1880) ภราดา 10 คนร่วมประชุมออกความคิดเห็น • การศึกษาเพื่อคนตาบอดเริ่มที่ลิล (Lille 1843) ทั้งภราดาและซิสเตอร์ถือว่าเป็นภารกิจที่สำคัญ
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • ภ.ซีเมออนมีคำขวัญว่า “สันติและความรัก” เน้าชีวิตกลุ่มแบบครอบครัว นำไปใช้ในหอพัก ให้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด เน้นวินัย เอาใจใส่ทุกมิติ ครูเสมือนเพื่อนและพ่อ/แม่ ร่วมเล่นเกมส์ บันเทิง กิจกรรม: กีฬา ละคร ดนตรี (คณะเยซูอิตก็จัดเช่นกัน) • ตำราเขียนลายมือโดยภ.ฟรังซัว เรยีส (1845) มีการมอบถวายให้เจ้าชายนโปเลียนที่สามหนึ่งชุด ตำรานี้เป็นที่นิยมมากจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สอง • ภราดาเป็นคนมองไกลทันยุคทันสมัย
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • ภ.ยูยีนมารี (1823-83) เน้นการฝึกภราดาเข็มข้น “ภ.คนใดไม่รู้จักเลือกหนังสือ เลือกอ่าน หรือไม่ตัดใจเพื่อจะได้ทุ่มเทต่อการศึกษาที่เข็มข้นพิเศษ ซึ่งการเรียนการสอนเรียกร้อง ไม่เหมาะสำหรับชีวิตนักบวช” • ไม่มีคำว่าแก่เกินเรียน “บางคนอาจบอกว่าการศึกษาทำให้เสียกระแสเรียก แต่ข้าฯขอบอกว่าอวิชชาที่จงใจ ทายาทของความเกียจคร้านนำไปยังการเสียกระแสเรียกมากกว่านั้นเสียอีก” (น.เยโรมเรียนภาษาฮีบรูเมื่ออายุ 60)
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • มีความพยายามเปิดบ้านในโตรอนโต อัลจีเรีย อาร์เย็นตีนา ไซ่ง่อน • 1900 เปิดบ้านที่กาบอง ภ.กุลเย็นต้องรอถึง 17 ปี • 1901 ประเทศไทย (ภ.มาร์ตินแห่งตูร์ ท่านมีความตั้งใจอยากช่วยเหลือเด็กๆ ที่ถูกทอดทิ้ง) • ธรรมนูญของสงฆ์มงฟอร์ต 1713: “สมาชิกต้องไม่มีสัมภาระหนักเพื่อจะได้คล่องแคล่วเยี่ยงน.เปาโล วินเซนต์แฟเรีย ฟรันซิสเซเวีย ไปยังทุกแห่งที่พระเป็นเจ้าทรงเรียก ไม่ว่าใกล้หรือไกล”
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • การเอาใจใส่คนยากจน • ฝรั่งเศส: มีการช่วยเหลือเดนที่ด้อยในการเรียน • อัฟริกากลาง อินเดีย ไฮติ: ศูนย์สำหรับเด็กข้างถนน • บราซิลมีศูนย์เด็กจากครอบครัวที่แยกกัน อายุ 7-17 เสมอภาคทางเพศ วิชาปรกติเรียนนอกศูนย์ มีการฝึกอาชีพ มีกิจกรรมร่วมกัน พึ่งเงินบริจาค (Providence)และรายได้จากงานที่ผลิต • ในอินเดีย ไฮติและประเทศอื่นๆ ก็มีศูนย์เช่นนี้
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • บ้านเด็กกำพร้า • บ้านเยาวชน (Boys’ Towns)ในมาเลเซียมีหญิงด้วย • งานพัฒนาและสังคมสงเคราะห์ในอินเดีย • บิฮาร์: การพัฒนาหมู่บ้าน ชนเผ่าน้อย (1974) • ไฮเดราบัด: มี PIN (1990) ต่อสู้เพื่อสิทธิของคนชั้นต่ำ • LEAP การศึกษาเพื่อช่วยปลดปล่อยและโครงงาน 1994
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • การเอาใจใส่ผู้พิการหลากประเภท (หูหนวกตาบอด) • คณะภราดาและซิสเตอร์ได้ดูแลคนหูหนวกมานาน ปี 1965 ภราดา 94 อุทิศตนเพื่องานนี้ • โรงเรียนสำหรับคนหูหนวกตาบอด: สเปน (1961) อินเดีย (1962) คองโกบรัซซาวิล (1971) บูตาเร รวันดา (1973) คินชาซา (1989 ศูนย์ฝึกครู) ศูนย์ Kikwit (1991) • เรื่องของซิสเตอร์และภราดา (ดูหน้า 9)
ธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดาธรรมประเพณีการเรียนการสอนของคณะภราดา • ความเชี่ยวชาญของคณะภราดา • ตำราการสอนคนหูหนวกตาบอดได้รับเหรีญทองปี 1900 • ร่วมทำงานกับองค์กรคนตาบอดหูหนวกฝรั่งเศส FISAF • ภ.ฮีแลร์ แต่งตำราภาษาไทย ดรุณศึกษา • ภ.แบร์นาดินชาวเบลเยี่ยม แต่งตำราเพื่อโรงเรียนในประเทศคองโก (RDC) • ภ.มอริสแต่งหนังสือ The Pedagogy of the African Teacher and Our Beautiful Profession • เซเนกัล ภ.แต่งตำราหลักไวยากรณ์และการอ่าน
ฆราวาสร่วมบริหาร • ประเทศฝรั่งเศส • พยายามรู้จักเด็ก • นักเรียนศูนย์การเรียนรู้การสอน • ภราดาเดินเคียงข้างฆราวาสในการบริหาร • ต้อนรับเด็กยากจน • ปลูกฝังความเป็นหนึ่งเดียวและการแบ่งปัน • ส่งเสริมจิตตารมณ์ครอบครัว • สนับสนุนการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่างๆ • โครงงานอภิบาลด้วยจิตตารมณ์มงฟอร์ต
บทสรุป • เอาใจใส่คนจน พิการหลากประเภท • การศึกษาการกุศล • การฝึกอบรมทั้งครบ • ภราดาและครูที่มีประสิทธิภาพ ก้าวทันโลก • เด็กเป็นศูนย์กลาง • เด็กสอนเด็ก • ร่วมมือกับฆราวาส • ติดต่อกับราชการ ผู้มีอำนาจบารมี • ร่วมมือกับคณะอื่นๆ
คำสอนพระศาสนจักร • สาสน์พระสันตะปาปายอห์นปอลที่สอง: เน้นที่เด็กเพราะขาดการศึกษา เจ็บป่วย ขาดอาหาร ต้องเป็นทหาร แรงงานเด็กทำงานในสถานที่เสี่ยงต่อชีวิต (มหาพรต 2003: ZE04032801) • พระคาร์ดินัล คริสเตียน วิกกาน ตูมิ: อาณานิคมยังมีอยู่ในอัฟริกาเพราะว่าอำนาจต่างชาติไม่ปล่อยให้การศึกษาที่แท้จริงเกิดขึ้น (ZE03112622) • สมณสาสน์ GravissimumEducationis
เทิดเกียรติ์มงฟอร์ต • วันฉลองในปฏิทินสากล (20 กค 1996) • สมณสาสน์ “มารดาพระผู้ไถ่” (Redemptoris Mater) 48: พระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 เน้นการถวายตนทั้งครบแด่พระเยซูเจ้าโดยทางพระแม่ของมงฟอร์ต • ย.ป. 2 เสด็จเยี่ยมหลุมศพมงฟอร์ต 19 กย 1996 กล่าวสดุดีมงฟอร์ต ย้ำเอกลักษณ์สำคัญของมงฟอร์ต • ฉลองครบรอบ 50 ปีขอบการแต่งตั้งเป็นนักบุญ (21 มิย 1997) • ฉลองครบรอบ 160 ปีของการพบหนังสือการถวายตนทั้งครบแด่พระเยซูเจ้าโดยทางพระแม่ (8 ธค 2003)