290 likes | 485 Views
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557. เสนอในการ ประชุมชี้แจงจังหวัด วันที่ 10-11 ตุลาคม 2556. แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ด้านการแพทย์. โดย นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ สปสช.เขต 4 สระบุรี. การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 255 7. สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556.
E N D
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ปีงบประมาณ 2557 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด วันที่ 10-11 ตุลาคม 2556 แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ โดย นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ สปสช.เขต 4 สระบุรี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556
ข้อมูลพื้นที่ ประชากร ผู้สูงอายุ และคนพิการณ กรกฎาคม 2556 ที่มา : ข้อมูลประชากร สปสช.
ข้อมูลคนพิการ ท74 จำแนกประเภท รายจังหวัด ณ ก.ค.56
กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 730.337 ลบ. POP UC = 48.852 ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/657.059 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/73.278 ลบ.) • สำหรับหน่วยบริการองค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ • สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ(จัดหา ผลิต ซ่อม) • ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute(บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) • ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เขต 4 สระบุรี เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 51,658,771ลบ. POP UC = 3,272,029ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/41,763,082บาท) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/4,097,908 บาท) • สำหรับหน่วยบริการองค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ • สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ(จัดหา ผลิต ซ่อม) • ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute(บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) • ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์ และการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม ผู้สูงอายุ SUB ACUTE คนพิการ ท.74 การให้บริการฟื้นฟู 9 ด้าน การให้บริการกายอุปกรณ์ โดยทีมสหวิชาชีพฟื้นฟูฯ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด พฤติกรรมบำบัด จิตบำบัด การฟื้นฟูการได้ยิน การฟื้นฟูการเห็น การประเมินและแก้ไขการพูด Early Intervention Phenol block อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการทั่วไป อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการราคาสูง 7 รายการ 2501 เครื่องช่วยฟังเด็ก 2502 เครื่องช่วยฟังผู้ใหญ่ 8801 รองเท้าคนพิการขนาดเล็ก 8802 รองเท้าคนพิการขนาดกลาง 8803 รองเท้าคนพิการขนาดใหญ่ 8804 รองเท้าคนพิการขนาดพิเศษ 8805 ค่าดัดแปลงรองเท้าคนพิการ โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์ ภายใน 30 วัน
รายการกิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์รายการกิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ สำหรับคนพิการและผู้ป่วยระยะเฝ้าระวัง (Sub acute) หมายเหตุ : ขนาดของกลุ่ม = สมาชิกประมาณ 7 – 12 คน
งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการงบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ • 1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD)และในชุมชน • จ่ายตามผลงานการให้บริการภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต • เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร • - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิUC, วดป.ที่ให้บริการ • - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 • - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 • การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.thเท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) • - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ อัตราการจ่ายค่าบริการ รายกลุ่ม - กิจกรรมบำบัด ครั้งละ 75บาท – การแก้ไขการพูด ครั้ง 75 บาท – ฟื้นฟูการเห็น ครั้ง 75 บาท - กระตุ้นพัฒนาการเด็ก ครั้งละ 75 บาท - พฤติกรรมบำบัดครั้งละ 150 บาท จิตบำบัด ครั้งละ 150 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.2 หน้า 357 - 367
2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (เฉพาะคนพิการ ท 74 เท่านั้น) • เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ • ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช. กำหนด • ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซม • เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร • - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 • - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 • - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ • การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.thเท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) • - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8 หน้า 353 - 356
แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการแนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 1) การจัดบริการในกรณีปกติ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด (เฉพาะหน่วยบริการใหม่) -สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ และรายงานผลหน่วยบริการ ที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก H900, H903, H906, Z461 รหัสหัตถการ9548 (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก) ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398
แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการแนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 2) การจัดบริการในโครงการนำร่อง - เป้าหมายการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 1,000 เครื่อง - พื้นที่/เป้าหมาย หน่วยบริการที่มีความพร้อมและสนใจ คัดเลือกโดย สปสช. ส่วนกลางร่วมกับเขตและประสานหน่วยบริการแจ้งความจำนงเข้าร่วม โครงการ ภายในเดือน ธันวาคม 2556 - หน่วยบริการไม่ต้องสำรองจ่ายเงินก่อน - NECTEC/บริษัทผลิตจัดส่งเครื่องช่วยฟังให้หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ - สปสช. ร่วมกับ NECTEC ติดตามผลการดำเนินงานโครงการนำร่อง เขต 4 สระบุรี นำร่อง 2 แห่ง คือ รพ.พระนั่งเกล้า 2) รพ.ปทุมธานี ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398
3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (O&M) เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ เป้าหมาย 3,000 ราย ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 57 มีงบเพียง 900,000 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.3 หน้า 368 - 371
หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฝึกทักษะ OM (ไม้เท้าขาว)
กรอบระยะเวลาการจัดสรรงบ งวดที่ 1 จัดสรรล่วงหน้า 60%ภายในเดือน ธค.56 ประมาณการจากผลงานการให้บริการในปีที่ผ่านมา งวดที่ 2 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.57 ใช้ผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 56 และผลงาน 9 เดือน ของปี 57 ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 166 - 171
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ • ครอบคลุมกิจกรรม • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน เขตทำข้อตกลงกับจังหวัด จ่ายเงินครั้งเดียว องค์กรคนพิการ ทำข้อตกลงกับจังหวัด งบนี้ไม่รวมกับกองทุน อบจ. ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 172 – 173 และ ผนวก 8.4,8.5 หน้า 372-377
แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมหน่วยบริการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายและวงเงินสนับสนุน.....เน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 1) ศูนย์สุขภาพชุมชน/คลินิกชุมชนอบอุ่น/ รพ.สต. โครงการละ ไม่เกิน 30,000 – 50,000 บาท 2) รพช. โครงการละไม่เกิน 100,000 – 300,000 บาท ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของ อปสข. ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี ขอบเขตการดำเนินโครงการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยะระดับแบบผสมผสาน เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 7 ประเภทความพิการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยกระดับบริการที่บ้านและในชุมชน ร่วมกับ อปท. ทำให้เกิดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลคนพิการและสามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.4, หน้า 372 - 374
แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมองค์กรคนพิการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายองค์กรที่สนับสนุน องค์กรของผู้บกพร่องทางการมองเห็น องค์กรของผู้บกพร่องทางการได้ยิน องค์กรของผู้บกพร่องทางการเคลื่อนไหว องค์กรของผู้บกพร่องทางจิตใจหรือพฤติกรรม องค์กรของผู้บกพร่องทางสติปัญญา องค์กรของผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ องค์กรของผู้บกพร่องบุคคลออทิสติก ขอบเขตการดำเนินโครงการ ครอบคลุมการจัดอบรมหรือบริการในรูปแบบการฝึกอบรมทักษะการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการหรือการดูแลช่วยเหลือคนพิการในแต่ละประเภท วงเงินสนับสนุน (องค์กรฯในพื้นที่หรือภายในจังหวัด) งบประมาณไม่เกินโครงการละ 100,000 บาท ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี อย่างน้อย 3 ประเภท ความพิการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.5 หน้า 375 - 377
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด จัดสรรงบให้กองทุนตามจำนวนปชก.UC ของจังหวัด ในสัดส่วนที่เท่ากัน (จากงบอุปกรณ์/บริการฟื้นฟูฯ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูฯ) กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด เน้น - สนับสนุนให้มีศูนย์ผลิต และซ่อมกายอุปกรณ์ - การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรคนพิการ - สนับสนุนการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนและคุณภาพชีวิต การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.6 หน้า 378 - 389
การจัดตั้งกองทุนฟื้นฟุสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟุสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด
การกำกับติดตามผลการดำเนินงานการกำกับติดตามผลการดำเนินงาน • การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี • เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ
หนักเท่าไหร่? เราก็จะต้องช่วยกัน ขอบคุณครับ