350 likes | 929 Views
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล. หมวด 5 : การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล.
E N D
หมวด 5การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 5 : การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวดการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการตรวจประเมินว่าระบบงาน และระบบการเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งไปในแนวทางเดียวกันกับเป้าประสงค์และแผนปฏิบัติการโดยรวมของส่วนราชการอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินความใส่ใจการสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสู่ผลการดำเนินการที่เป็นเลิศและความเจริญก้าวหน้าของบุคลากรและส่วนราชการ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจให้แก่บุคลากร • การจัดโครงสร้างองค์กรและระบบการทำงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนบุคลากร ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่
สภาพแวดล้อมดี การพัฒนาบุคลากร การสร้างความพึงพอใจให้บุคลากร
ความเชื่อมโยงของหมวด 5 กับ PMQA ในหมวดอื่นๆ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล HR1 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ ของบุคลากร OP3 บุคลากร SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายองค์การสู่ระดับบุคคล HR2 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน HR3 ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล RM7 การพัฒนาบุคลากร HR4 ระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม ความคุ้มค่าของการพัฒนาและฝึกอบรม HR5 การสร้างความก้าวหน้า ให้บุคลากร
การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ หมวด 5
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การกำหนดปัจจัย การวิเคราะห์ปัจจัย การปรับปรุงปัจจัย กระบวนการกำหนดปัจจัย • ปัจจัยที่สร้างบรรยากาศทำงาน • นโยบายการบริหารงาน • การให้ค่าตอบแทน • ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร • สภาพแวดล้อมการทำงาน • ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจ • ความสำเร็จของงาน • ลักษณะงาน • การยกย่องชมเชย • ปริมาณงานที่รับผิดชอบ • การกระจายอำนาจตัดสินใจ • ความก้าวหน้าในหน้าที่ • วิเคราะห์ปัจจัย • จัดลำดับความสำคัญปัจจัย • กำหนดตัวชี้วัด • วิธีประเมินความผาสุก • การสำรวจความพึงพอใจ • บุคลากร • ปรับปรุงสภาพแวดล้อม • การปฏิบัติงาน • สุขอนามัย • ความปลอดภัย/การป้องกันภัย • อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน • การจัดระบบสนับสนุนบุคลากร • สวัสดิการ • บริการสอดคล้องความต้องการ แผนการสร้างความผาสุก/ ความพึงพอใจ ดำเนินการ ตามแผน ระบบการประเมินความผาสุก/ ความพึงพอใจ 11
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ. 2544 • ระบบเปิด • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นแจ้งผล • การประเมินให้ผู้ถูกประเมิน • ทราบเป็นรายบุคคล • ผู้บังคับบัญชาแจ้งผลการ • ประเมินรายบุคคล (กรณีอยู่ • ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง) • ผู้บังคับบัญชาชี้แจง แนะนำ • การปรับปรุงการปฏิบัติงาน • ประกาศรายชื่อให้ข้าราชการ • ทราบ (ยกย่อง ชมเชย) • ประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการประเมินผล มาตรฐาน • การปฏิบัติงานให้บุคลากรทราบ • บุคลากรจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานสรุปรอบ • 6 เดือน เสนอต่อผู้บังคับบัญชาพิจารณา • ผู้บังคับบัญชาสรุปผลการประเมินรอบที่ 1 • จัดเรียงลำดับผลการประเมิน • เมื่อประเมินผลเสร็จให้ดำเนินการตามระบบเปิด 13
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (SP 3) การดำเนินการตามแผน กลยุทธ์การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR 3) • การวางแผนและบริหารกำลังคน • การพัฒนาบุคลากร และการ • พัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร • การบริหารทรัพยากรบุคคลที่มี • ทักษะ/ขีดสมรรถนะสูง • การสร้างพัฒนาข้าราชการ เพื่อ • สืบทอดตำแหน่งผู้บริหาร • การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่ • ให้บุคลากร • การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการ • บริหารทรัพยากรบุคคล • การนำระบบเทคโนโลยี • สารสนเทศมาใช้ในกิจกรรม/ • กระบวนการบริหารทรัพยากร • บุคคล • การปรับปรุงระบบงาน (การมอบ • อำนาจ/ความคล่องตัว/การมีส่วน • ร่วมบุคลากร • การปรับปรุงระบบยกย่อง ชมเชย • การปรับปรุงระบบสรรหา • คัดเลือก การรักษาบุคลากร • การปรับปรุงการพัฒนาบุคลากร 15
การจัดระบบการประกันคุณภาพการจัดระบบการประกันคุณภาพ การฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่า • ประเมินจากข้อมูลผลการปฏิบัติงานของ • บุคลากร เพื่อทราบผลสัมฤทธิ์ • กำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนการนำความรู้ • จากการฝึกอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน • ประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/การ • ฝึกอบรมที่สอดคล้องกับวิธีการที่ใช้ใน • การพัฒนาบุคลากร • ประเมินผลลัพธ์องค์กร (ผลลัพธ์การ • ฝึกอบรม/โดยอาจวัดผลผลิตที่เพิ่มขึ้น • เช่น ความพึงพอใจผู้รับบริการเพิ่มขึ้น • ลดค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ) • ยกระดับการฝึกอบรมให้มีมาตรฐานสูง • คุ้มค่าต่อการลงทุน • สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้เรียน • มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ 17
ตัวอย่าง HR 4 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม บทนำ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการกำหนดหลักเกณฑ์ และคำนิยามหรือขอบเขตของหลักสูตรการฝึกอบรมที่ต้อง ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ ให้กำหนดหลักเกณฑ์กลางที่จะใช้ร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงวิธีการประเมินประสิทธิผลการอบรม เช่น เนื้อหาหลักสูตร เนื้อหาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสามารถบรรลุ เป้าหมายที่กำหนด ความเหมาะสมผู้เข้ารับการอบรม การจัดอบรมในรูปแบบการอภิปราย ต้องมีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 20 คน ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความรู้พื้นฐานหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรนั้น ๆ คุณสมบัติของวิทยากร วิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ตรงกับหลักสูตรที่ อบรม และต้องมีประสบการณ์ในด้านนั้น ๆ อย่างน้อย 5 ปี เทคนิคการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีสัดส่วนของการบรรยาย และ Workshop เป็น 60:40 สถานที่ใช้อบรม การจัดสถานที่อบรมต้องให้เหมาะสมกับหัวข้อการอบรมหรือกิจกรรมที่ใช้ การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับ การอบรมก่อนเริ่มการอบรมทุกครั้ง (Pretest)
สร้างแรงจูงใจในการทำงานสร้างแรงจูงใจในการทำงาน • บุคลากรทราบความก้าวหน้า • นำมาใช้ในการออกแบบแผนการพัฒนา • บุคลากรด้านต่าง ๆ • ควรอยู่บนพื้นฐานในเรื่อง Competency แผนการสร้างความก้าวหน้า (Career Path) 20
การวางแผนพัฒนาพนักงานรายบุคคลการวางแผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล