1 / 113

สาระสำคัญของหนังสือเวียน

สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10 /2548 (การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง สำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตน.ประเภททั่วไป) และตน.ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ตำแหน่งระดับ 8 ลงมา). สาระสำคัญของหนังสือเวียน.

lorene
Download Presentation

สาระสำคัญของหนังสือเวียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 (การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตน.ประเภททั่วไป) และตน.ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ตำแหน่งระดับ 8 ลงมา)

  2. สาระสำคัญของหนังสือเวียน สาระสำคัญของหนังสือเวียน • ยกเลิก ว 16/2538 เฉพาะหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินบุคคลตำแหน่งระดับ 8 ลงมา และยกเลิก ว 11/2546 และ ว 6/2547 • กำหนดให้มีการคัดเลือกบุคคลก่อนเข้ารับการ ประเมินผลงาน

  3. ให้มีการประกาศผลการพิจารณาคัดเลือกอย่าง เปิดเผย โปร่งใส และให้มีการทักท้วงได้ • คณะกรรมการประเมินผลงานในระดับ 7 และระดับ 8 ไม่ได้กำหนดให้มีผู้แทน ก.พ. เพราะจะมีหน้าที่หลัก ในการประเมินคุณภาพของผลงาน ไม่ได้พิจารณา คุณสมบัติของบุคคล ผู้แทน ก.พ.

  4. การส่งผลงานต้องส่ง 2 ส่วน คือ • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางาน หรือ ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่อง ระยะเวลาขั้นต่ำมอบให้ อ.ก.พ.กรม หรือ คณะกรรมการคัดเลือกที่ อ.ก.พ.กรม แต่งตั้ง เป็นผู้พิจารณา

  5. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล กรณีการเลื่อนขึ้นในระดับที่สูงขึ้น • ให้คัดเลือกเพื่อเลื่อนในระดับที่สูงกว่าระดับที่ดำรงอยู่ไม่เกิน 1 ระดับ • ให้คัดเลือกบุคคลอย่างเป็นระบบ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ มีการประกาศผลการคัดเลือกอย่างเปิดเผย และเปิดโอกาสให้มีการทักท้วง

  6. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล • การคัดเลือกบุคคล แบ่งออกเป็น 2 กรณี • ตำแหน่งที่ปรับระดับสูงขึ้นได้จากระดับเริ่มต้นของสายงาน (ตำแหน่งเลื่อนไหล) และมีผู้ครองตำแหน่งอยู่แล้ว ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ / ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก • ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งเลื่อนไหล และตำแหน่งว่างทุกกรณี ให้ อ.ก.พ.กรม/คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก

  7. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป) และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ 8 ลงมา (ตามหลักเกณฑ์ที่ อ.ก.พ.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีมติให้กำหนดและถือปฏิบัติในหน่วยงานต่าง ๆ ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)

  8. * หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงาน เพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น * ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคล * หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงาน เพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ * หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น * หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ * คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้ง * องค์ประกอบของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลและคณะกรรมการ ประเมินผลงาน

  9. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 1. ให้คัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับสูงขึ้นกว่าระดับ ตำแหน่งที่ผู้นั้นดำรงอยู่ได้ไม่เกิน 1 ระดับ 2. คุณสมบัติของบุคคล2.1 มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง2.2 มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสายงานต่าง ๆ 2.3มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง

  10. ระดับคุณวุฒิ 6 7 8 ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ปริญญาโท หรือเทียบเท่า ปริญญาเอก หรือเทียบเท่า 6 ปี 4 ปี 2 ปี 7 ปี 5 ปี 3 ปี 8 ปี 6 ปี 4 ปี บุคคลดังกล่าวจะต้องดำรงตำแหน่ง / เคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ / เคยปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปีโดยจะต้องมีคำสั่งรักษาราชการแทน / รักษาการในตำแหน่ง หรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจนรวมทั้งต้องมีการปฏิบัติงานจริงด้วย

  11. 1 ปี การเลื่อนตำแหน่งต้องมีต้นทุน 1 ปี สายงานที่จะแต่งตั้งหรือสายงานอื่นที่เกี่ยวข้อง แต่ต้องเป็นสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 หรือระดับ 4 หรือสายงานที่เทียบเท่า หรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้ง การนำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งอื่นๆมานับ เวลานั้นต้องมีคุณสมบัติตรง Spec. ดำรงตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่าระดับ 3 หรือเทียบเท่า ถ้าปฏิบัติหน้าที่ ในตำแหน่งที่จะแต่งตั้งที่จะประเมินต้องมีคำสั่ง รักษาราชการ/รักษาการในตำแหน่งหรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างชัดเจน

  12. การนับเกื้อกูลในสายงานต่าง ๆ นับได้ตาม ข้อเท็จจริงของข้าราชการแต่ละราย แต่ถ้า เป็นสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ 2 หรือเทียบเท่า นับได้ตามจริง แต่ ไม่เกิน ครึ่งหนึ่งของเวลาที่นับมานับ

  13. 2.4 มีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งภายในระยะเวลาไม่เกิน1ปี นับตั้งแต่วันที่ขอรับการคัดเลือก 3. คุณลักษณะของบุคคล 3.1 ความรับผิดชอบ 3.2 ความคิดริเริ่ม 3.3 การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ 3.4 ความประพฤติ 3.5 ความสามารถในการสื่อความหมาย 3.6 การพัฒนาตนเอง 3.7 การทำงานร่วมกับผู้อื่น 3.8 ความเสียสละ

  14. 4. ผลงานที่ใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือก 4.1 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 4.2 สรุปข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในตำแหน่งที่จะเข้ารับการประเมินผลงาน 5. เกณฑ์การคัดเลือก (ตัดสิน)ผู้ที่จะได้รับคัดเลือกต้องเป็นผู้ที่ได้รับผลการประเมินอยู่ในระดับที่มีความเหมาะสมมากที่สุดสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้งตำแหน่งละ 1คน 6. การประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกรวมทั้งชื่อผลงานที่จะส่งประเมินพร้อมทั้งเค้าโครงเรื่อง สัดส่วนของผลงานในส่วนที่ตนเองปฏิบัติและรายชื่อผู้ร่วมจัดทำผลงาน(ถ้ามี)โดยการประกาศอย่างเปิดเผยและให้มีการทักท้วงได้ภายใน30วัน นับตั้งแต่วันประกาศ

  15. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคลขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคล 1. กรณีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลื่อนไหล และ มีผู้ครองตำแหน่งอยู่แล้ว1.1 กำหนดเวลาและสำรวจข้อมูล1.2 แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาประเมินคุณลักษณะของบุคคล 1.3 แจ้งให้ผู้ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวส่งเอกสารประกอบการคัดเลือก1.4รวบรวมข้อมูลเอกสารประกอบการคัดเลือกของผู้ที่ส่งมาทั้งหมดเสนอผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 52เป็นผู้พิจารณาคัดเลือกบุคคล1.5 แจ้งผู้ได้รับการคัดเลือกทราบและให้ส่งผลงาน1.6ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกตำแหน่งละ 1คน โดยประกาศอย่างเปิดเผยและกำหนดให้มีการทักท้วงได้ ภายใน 30วัน นับตั้งแต่วันประกาศ

  16. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคลขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคล 2. กรณีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่ง เลื่อนไหลและตำแหน่งว่างทุกกรณี 2.1กำหนดเวลาและรวบรวมข้อมูลให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา 2.2แจ้งผู้บังคับบัญชาประเมินคุณลักษณะของบุคคล2.3แจ้งให้ผู้ที่มีคุณสมบัติส่งเอกสารประกอบการคัดเลือก 2.4รวบรวมข้อมูลเอกสารประกอบการคัดเลือกของผู้ที่ส่งมาทั้งหมดให้คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเป็นผู้พิจารณา2.5รายงานผลการพิจารณาคัดเลือกพร้อมทั้งระบุเหตุผลเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

  17. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคลขั้นตอนและวิธีการดำเนินการคัดเลือกบุคคล 2.6 แจ้งผู้ได้รับการคัดเลือกทราบและให้ส่งผลงาน2.7 ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกตำแหน่งละ 1 คน โดยประกาศอย่างเปิดเผย และกำหนดให้มีการทักท้วงได้ภายใน 30วัน นับตั้งแต่วันประกาศ กรณีมีผู้ทักท้วง ให้คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล ตรวจสอบข้อมูลรายงานผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 52 ถ้ามีมูลให้ดำเนินการตาม ว 5/42แต่ถ้าตรวจสอบแล้ว มีหลักฐานว่าข้อทักท้วงนั้นเป็นการกลั่นแกล้งหรือไม่สุจริตให้ดำเนินการสอบสวนผู้ทักท้วง

  18. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการทำนองเดียวกับกรณีการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น กรณีบรรจุกลับต้องมีระยะเวลาปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 1 ปีนับตั้งแต่วันที่บรรจุกลับเข้ารับราชการ การขอรับการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในขณะที่ผู้อื่นยังดำรงอยู่ให้กระทำได้ 1. กรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งอยู่เดิมจะต้องพ้นจากราชการไปเพราะเกษียณอายุ ให้ขอรับการคัดเลือกล่วงหน้าได้ไม่เกิน 6 เดือน 2. กรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งอยู่เดิมขอลาออกจากราชการให้ขอรับการคัดเลือกได้ ไม่ก่อนวันที่ผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออกได้อนุญาตให้ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นลาออกจากราชการ

  19. องค์ประกอบของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลองค์ประกอบของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคล 1. คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล 1.1 ส่วนกลาง ประกอบด้วย 1. รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมาย ประธาน 2. หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงหรือผู้แทน กรรมการ 3. สาธารณสุขนิเทศก์ที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ 4. หัวหน้าหน่วยงานที่มีตำแหน่งเสนอขอรับการคัดเลือก กรรมการ 5. ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล เลขานุการ

  20. 1.2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประกอบด้วย 1. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ประธาน 2. นายแพทย์ 9 (ด้านเวชกรรมป้องกัน) กรรมการ 3. นักวิชาการสาธารณสุข 9 (ด้านส่งเสริมพัฒนา) กรรมการ 4. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน กรรมการ ที่นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมอบหมาย 5. สาธารณสุขอำเภอที่นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กรรมการ มอบหมาย 6. หัวหน้างานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ

  21. 1.3 โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป ประกอบด้วย 1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ประธาน 2. รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลฝ่ายการแพทย์ กรรมการ 3. รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลฝ่ายบริหาร กรรมการ 4. หัวหน้าพยาบาล กรรมการ 5. หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรรมการ 6. หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ

  22. อำนาจหน้าที่คณะกรรมการคัดเลือกอำนาจหน้าที่คณะกรรมการคัดเลือก 1. พิจารณาคัดเลือกบุคคล 2. พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง 3. รายงานผลการพิจารณาคัดเลือกพร้อมทั้งเหตุผลในการพิจารณาต่อผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ 4. แจ้งผู้ได้รับคัดเลือกทราบ และให้ส่งผลงาน 5. ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกอย่างเปิดเผย 6. กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำตามข้อ 2. ให้ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้พิจารณาชี้ขาด 7. อาจแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานเข้าร่วมพิจารณาด้วยก็ได้

  23. เอกสารประกอบการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเอกสารประกอบการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงาน ของ ………….(ชื่อ/สกุล)…………… ตำแหน่ง……….……ตำแหน่งเลขที่ ……… ………………(ส่วนราชการ)…………………. เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง………ตำแหน่งเลขที่ ………… …………(ส่วนราชการ)……………

  24. แบบประเมินคุณลักษณะของบุคคลแบบประเมินคุณลักษณะของบุคคล

  25. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  26. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  27. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  28. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  29. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  30. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  31. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  32. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  33. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  34. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  35. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  36. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  37. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  38. แบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือกแบบเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับการคัดเลือก

  39. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 1. ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้ส่งผลงานประเมินตามหัวข้อเรื่องที่ได้เสนอไว้ ในขั้นตอนการคัดเลือกบุคคล 2. ผลงานที่ส่งประเมินจะต้องประกอบด้วยผลงานที่เกิดจากงานในหน้าที่ความรับผิดชอบและข้อเสนอแนวความคิดเพื่อพัฒนางาน 3.ผลงานที่ส่งประเมินจะต้องอยู่ในเงื่อนไข ดังนี้ 3.1 เป็นผลงานที่จัดทำขึ้นในระหว่างที่ดำรง ตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าระดับที่จะประเมิน 1 ระดับ 3.2ไม่ใช่ผลงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ที่เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษา

  40. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 3.3กรณีที่เป็นผลงานร่วมกันของบุคคลหลายคน จะต้องแสดงให้เห็นว่าผู้เสนอมีคำรับรองจากผู้มีส่วนร่วมในผลงานนั้น 3.4ผลงานที่นำมาใช้ประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแล้วจะนำมาเสนอให้ประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งในระดับที่สูงขึ้นอีกไม่ได้ 3.5แนวคิดเพื่อการพัฒนางานต้องเป็นแนวคิดที่จะพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง 3.6 จำนวนผลงาน คณะกรรมการประเมินผลงาน ในแต่ละสายงานจะกำหนด

  41. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 4. ลักษณะของผลงาน  ขอบเขตของผลงาน เป็นผลสำเร็จของงานและแนวคิดพัฒนางาน  คุณภาพของผลงาน ผลงานที่เชื่อถือได้  ความยุ่งยากซับซ้อนของผลงาน แก้ปัญหาในงานที่ปฏิบัติด้วยตนเองได้ ประโยชน์ของผลงาน เป็นประโยชน์ต่อทางราชการได้เป็นอย่างดี  ความรู้ความชำนาญงานและประสบการณ์ มีความรู้ความชำนาญ สามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ ด้วยตนเองได้ ตำแหน่งระดับ 6

  42.  ขอบเขตของผลงาน เป็นผลสำเร็จของงานและแนวคิดพัฒนางาน  คุณภาพของผลงาน ดี  ความยุ่งยากซับซ้อนของผลงาน ใช้หลักวิชาการแก้ปัญหาในงานที่ปฏิบัติที่ยุ่งยากเป็นพิเศษ ประโยชน์ของผลงาน เป็นประโยชน์ต่อทางราชการในการพัฒนาการปฏิบัติงานในระดับสูง  ความรู้ความชำนาญงานและประสบการณ์ มีความรู้ ความชำนาญงาน เป็นที่ยอมรับในระดับกองหรือวงการวิชาการหรือวิชาชีพด้านนั้น ๆ ตำแหน่งระดับ 7

  43.  ขอบเขตของผลงาน เป็นผลสำเร็จของงานและแนวคิดพัฒนางาน  คุณภาพของผลงาน ดีมาก  ความยุ่งยากซับซ้อนของผลงาน ใช้หลักวิชาการเฉพาะการปฏิบัติงานที่มีความยุ่งยากมากเป็นพิเศษ แก้ปัญหาในงานที่ปฏิบัติเป็นประจำ ประโยชน์ของผลงาน เป็นประโยชน์ต่อทางราชการในการพัฒนาการปฏิบัติงานในระดับสูงมาก  ความรู้ความชำนาญงานและประสบการณ์ มีความรู้ ประสบการณ์สูงมากเป็นพิเศษ เป็นที่ยอมรับในระดับกองหรือระดับกรม หรือวงการวิชาการหรือวิชาชีพด้านนั้น ๆ ตำแหน่งระดับ 8

  44. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 1 ไม่เคยเป็น ว/วช. ผ่านการพิจารณาคัดเลือกบุคคล ส่งผลงานประเมิน

  45. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 2 • ระดับเดียวกัน และจัดอยู่ในกลุ่ม ตำแหน่งเดียวกันกับตำแหน่ง ที่จะแต่งตั้ง เป็น/เคยเป็น ว/วช. ผ่านการพิจารณาคัดเลือกบุคคล ผลงาน

  46. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 3 นอกเหนือจากข้อ และ 1 2 คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล พิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคลจากข้อมูลบุคคล/ผลงาน/ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา/ลักษณะงานที่ปฏิบัติ/ประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ โดยอาจไม่ต้องจัดทำผลงานขึ้นใหม่หรืออาจสั่งให้ส่งผลงานเพื่อประเมินใหม่

  47. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินผลงานองค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินผลงาน 2. คณะกรรมการประเมินผลงาน 2.1 ตำแหน่งระดับ 6 (1) ประธาน ตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 8 หรือเทียบเท่า ในสายงานที่จะประเมิน (2) กรรมการ จำนวน 2 – 5 คน (3) เลขานุการ ระดับ 6 2.2 ตำแหน่งระดับ 7 และ 8 (1) ประธาน ตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 9 หรือเทียบเท่าในสายงานที่จะประเมิน (2) กรรมการ จำนวน 2 – 5 คน (3) เลขานุการ ระดับ 6

  48. คณะกรรมการประเมินผลงานคณะกรรมการประเมินผลงาน ระดับ 6 ประธาน กรรมการ (2-5 คน) • ข้าราชการ / เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง / เคยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 8 / เทียบเท่าขึ้นไปในสายงานที่จะประเมินหรือในสายงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้จัดกลุ่มไว้ หรือ • ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านมีความชำนาญในสายงานนั้นๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน หรือ • รองอธิบดี / ผ.อ. สำนัก / ห.น. ส่วนราชการประจำจังหวัดตั้งแต่ระดับ 8 / เทียบเท่าขึ้นไปที่ควบคุมดูแลสายงานจะประเมิน • ข้าราชการ / เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง / เคยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 / เทียบเท่าขึ้นไปในสายงานที่จะประเมินหรือในสายงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้จัดกลุ่มไว้ซึ่งมีผลงาน เป็นที่ประจักษ์ในความสามารถแล้ว หรือ • ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านมีความชำนาญในสายงานนั้นๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน * ทั้งนี้ มีบุคลากรหรือผู้ที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 6 เป็นเลขานุการ

  49. คณะกรรมการประเมินผลงานคณะกรรมการประเมินผลงาน ระดับ 7 และ 8 ประธาน กรรมการ (2-5 คน) • ข้าราชการ / เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง / เคยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 9 / เทียบเท่าขึ้นไปในสายงานที่จะประเมินหรือในสายงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้จัดกลุ่มไว้ หรือ • ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านมีความชำนาญใน • สายงานนั้นๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน • หรือ • รองอธิบดี / ผ.อ. สำนักตั้งแต่ระดับ 9 / เทียบเท่าขึ้นไปที่ควบคุมดูแลสายงานที่จะ ประเมิน • ข้าราชการ / เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง / เคยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 8 / เทียบเท่าขึ้นไปในสายงานที่จะประเมินหรือในสายงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้จัดกลุ่มไว้ซึ่งมีผลงาน เป็นที่ประจักษ์ในความสามารถแล้ว หรือ • ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านมีความชำนาญในสายงานนั้นๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน * ทั้งนี้ มีบุคลากรหรือผู้ที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 6 เป็นเลขานุการ

  50. อำนาจหน้าที่คณะกรรมการประเมินผลงานอำนาจหน้าที่คณะกรรมการประเมินผลงาน 1. กำหนดเงื่อนไข ขอบเขต มาตรฐานของผลงาน 2. กำหนดจำนวนของผลงานที่จะให้ส่งประเมิน 3. กำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของผลงาน 4. ตรวจสอบข้อมูลกรณีมีผู้ทักท้วงในเรื่องผลงานซ้ำซ้อน 5. วินิจฉัยกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของผลงาน 6. รายงานผลการประเมินผลงานต่อผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา 52

More Related