250 likes | 666 Views
Merger & Acquisition. 1. Overview. Merger: Two combine to form a single legal entity Acquisition: One takes over another For management purpose / increase market share / improve productivities or services Affect legal registrations and liabilities eg. tax liabilities
E N D
Merger & Acquisition 1. Overview Merger: Two combine to form a single legal entity Acquisition: One takes over another For management purpose / increase market share / improve productivities or services Affect legal registrations and liabilities eg. tax liabilities Amalgamation is Merger method for Thailand Acquisition method are share sale and/or asset sale Liquidation and dissolution involved
2. Applicable Laws • Securities and Exchange Act B.E. 2535 (1992) • Public Limited Company Act B.E. 2535 (1992) • Rules and Regulations of SEC 1. Public Company
2. Applicable Laws 2. Private Company • Civil and Commercial Code • Labor Protection Act • Bankruptcy Court Act • Foreclosure Act • Land Code • Property Lease and Rights Act • Trade Competition Act • State Enterprise Corporatization Act • Accounting Act
3. Legal Considerations • MOU / LOI • Due Diligence • Shareholders approval • Primary contract and subjects eg. Structure (share or asset), price, employees, conditions and completion schedule, confidentiality, warranties • Registration to government agencies • Merger: new company automatically born Acquisition: liquidate and dissolve selling company/ or continue to exit
บริษัท ก. ผู้ถือหุ้นในบริษัท ข. บริษัท ข. Acquisition • Share Acquisition ซื้อหุ้นข้างมาก ได้มาซึ่งอำนาจควบคุม
ผู้ถือหุ้นในบริษัท ข. บริษัท ก. บริษัท ข. Acquisition • Share Swap ออกหุ้นเพิ่มทุนใน ก. ขายหุ้นข้างมากใน ข. ได้มาซึ่งอำนาจควบคุม
ตัวอย่าง วิธีการทำ Share Swap ผู้ถือหุ้น ก. ผู้ถือหุ้นบริษัท ข. ออกหุ้นเพิ่มทุนใน ก. บริษัท ก. บริษัท ข. ได้มาซึ่งอำนาจควบคุม
ผู้ถือหุ้น ก. + ผู้ถือหุ้น ข. บริษัท ก. บริษัท ข. ตัวอย่าง วิธีการทำ Share Swap (ต่อ) รับโอนกิจการ (ซื้อสินทรัพย์ของบริษัท ข. มาทั้งหมด) หรือให้บริษัท ข. ยังคงดำเนินธุรกิจต่อไป
ผู้ถือหุ้นบริษัท ก. บริษัท ค. (Holding Company) ผู้ถือหุ้นบริษัท ข. บริษัท ก. บริษัท ข. ตัวอย่าง การรวมกิจการโดยตั้งบริษัทโฮลดิ้ง (Holding Company)
ผู้ถือหุ้นบริษัท ก. ผู้ถือหุ้นบริษัท ข. บริษัท Holding I บริษัท Holding II บริษัท ก. บริษัทจดทะเบียน บริษัท ข. บริษัทจดทะเบียน ตัวอย่าง การรวมกิจการโดยการแลกหุ้นใหม่ในบริษัทโฮลดิ้งเดิม (Holding Companies)
2. การได้มาซึ่งสินทรัพย์ของกิจการ (Asset or Business Acquisition) ซื้อสินทรัพย์ของ ข. บริษัท ข. บริษัท ก. โอนสินทรัพย์ / กิจการ / ลูกหนี้ / พนักงาน
3. การควบกิจการตามกฏหมายไทย (Consolidation or Amalgamation/Merger) ตัวอย่าง (Consolidation) ก + ข = ค บริษัท ก. บริษัท ข. บริษัท ค.
3. การควบกิจการตามกฏหมายไทย (Consolidation or Amalgamation/Merger) ตัวอย่าง (Merger) ก + ข = ก หรือ ข บริษัท ก. บริษัท ข. บริษัท ก. หรือบริษัท ข. หมายเหตุ กรณีนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของวิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สินของกิจการ เช่นกัน
ข้อดี-ข้อเสีย ของการควบรวมกิจการประเภท • 1. การได้มาซึ่งหุ้นของกิจการ (Share Acquisition) • ข้อดี • สามารถเป็นเจ้าของธุรกิจที่ตนเองต้องการ และดำเนินธุรกิจต่อไปได้เลย • สามารถขายหุ้นออกไปได้ และอาจจะยังคงถือหุ้นบางส่วนไว้ • กรณีธุรกิจบางอย่างมีใบอนุญาตเป็นพิเศษ การซื้อหุ้นจะสามารถแก้ไข ปัญหาเรื่องใบอนุญาตได้ เช่น ธุรกิจประกันภัย ธนาคารพาณิชย์หรือหลักทรัพย์ • ข้อเสีย • ผู้ซื้ออาจต้องรับผิดชอบต่อความรับผิดใดๆ ที่อาจอยู่นอกงบดุลหรือภาษีที่ค้าง แม้จะมีการตรวจสอบ (Due Diligence) แล้วก็ตาม • การรับโอนจะต้องรับโอนลูกจ้างด้วย แม้ว่าผู้ซื้อจะไม่ต้องการ • การซื้อหุ้นโดยเฉพาะการซื้อหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ มีขั้นตอนทางกฎหมายยุ่งยากและใช้ระยะเวลาหรือมีค่าใช้จ่ายมาก
ข้อดี-ข้อเสีย ของการควบรวมกิจการประเภท • 2. การได้มาซึ่งสินทรัพย์ของกิจการ • (Asset or Business Acquisition) • ข้อดี • ไม่ต้องรับผิดชอบในหนี้สินของบริษัท • สามารถเริ่มธุรกิจได้เลย โดยยังคงดำรงสถานะเดิมของบริษัทไว้ • อาจซื้อสินทรัพย์ในราคาถูก หรือในราคาที่ไม่แพงเกินไป • ข้อเสีย • มีค่าภาษี ค่าธรรมเนียมที่อาจมากกว่าการขายหุ้น เว้นแต่มีกฎหมาย กำหนดยกเว้นให้เป็นกรณีเฉพาะ • อาจต้องใช้เวลาในการสร้างภาพลักษณ์ของธุรกิจขึ้นมาใหม่
ข้อดี-ข้อเสีย ของการควบรวมกิจการประเภท • 3. การควบกิจการ (Merger / Consolidation) • ข้อดี • ประหยัดค่าธรรมเนียมการโอนหากเป็นที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง • ผู้ถือหุ้นของบริษัทก่อนการควบไม่ต้องเสียภาษีจากการควบกิจการ • ใบอนุญาตอาจรับโอนมาได้ เว้นแต่มีกฎหมายห้ามไม่ให้โอน เช่น ธนาคารพาณิชย์ • การโอนสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย โดยไม่จำเป็นต้องขอความยินยอมต่างๆ จากเจ้าหนี้หรือบุคคลที่สาม • ข้อเสีย • ใช้เวลาในการดำเนินการนานและเอกสารมาก ยกเว้นกรณีการฟื้นฟูกิจการ ของ บสท. หรือการควบสถาบันการเงินตามกฎหมายพิเศษ • ผลประกอบการขาดทุนของบริษัทเดิมไม่สามารถนำมาใช้กับบริษัทใหม่ได้
ภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการควบรวมกิจการภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการควบรวมกิจการ • ภาษีเงินได้ • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ภาษีธุรกิจเฉพาะ • อากรแสตมป์
สิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการสิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการ โดยการได้มาซึ่งหุ้น
สิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการสิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการ โดยการซื้อทรัพย์สิน และโอนกิจการ (บางส่วน)
สิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการสิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบรวมกิจการ โดยการได้มาซึ่งทรัพย์สิน โดยการโอนกิจการทั้งหมด
สิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบกิจการ:สิทธิประโยชน์และภาระภาษีในการควบกิจการ: ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพรบ. บริษัทมหาชนจำกัด
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องและจำต้องพิจารณากฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องและจำต้องพิจารณา 1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย หุ้นส่วนบริษัท และนิติกรรมสัญญา 2. พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 3. พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 4. กฎหมายแรงงาน - ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 575-586 - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 - พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 - พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 5. พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 6. พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 7. พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2540 8. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 9. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ฯลฯ