1 / 58

หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. File : obj_TU113_U7.swf. หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้. ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 7 : ศาสนาพุทธ (ต่อ). วิชาศาสนาจะในบทนี้จะให้ความรู้ต่อนักศึกษาดังนี้. นักศึกษาสามารถอธิบายถึง การประยุกต์หลักการของพุทธศาสนาเข้ากับวิทยาศาสตร์ได้

Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 File : obj_TU113_U7.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 7: ศาสนาพุทธ (ต่อ) วิชาศาสนาจะในบทนี้จะให้ความรู้ต่อนักศึกษาดังนี้ นักศึกษาสามารถอธิบายถึง การประยุกต์หลักการของพุทธศาสนาเข้ากับวิทยาศาสตร์ได้ นักศึกษาสามารถอธิบายถึงเรื่องการกำเนิดจักรวาล การกำเนิดมนุษย์ เรื่องอะตอม ว่ามีนักวิทยาศาสตร์คนใดบ้างที่ศึกษาและค้นคว้าโดยเปรียบเทียบกับคำสอนของพุทธศาสนา การกำเนิดมนุษย์และเรื่องอะตอมนักศึกษาสามารถเข้าใจถึงกฎไตรลักษณ์ของพุทธศาสนาที่ครอบคลุมตั้งแต่ระดับอะตอมมนุษย์ไปจนถึงจักรวาล นักศึกษาสามารถอธิบายถึง เรื่องอะตอม นำเสนอที่ละบรรทัดช้า ๆ ให้ตรงกับ เสียงที่ บรรยาย ในวรรคที่สอง ตั้งแต่ข้อ 1 ถึง 4 ให้ขึ้นมาพร้อมกันทั้งหมด ค้างไว้จนเสียงบรรยายจบ บทที่ 7: ศาสนาพุทธ (ต่อ) วิชาศาสนาจะในบทนี้จะให้ความรู้ต่อนักศึกษาดังนี้ 1) นักศึกษาสามารถอธิบายถึง สิ่งที่เป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์มาจากการสังเกต ทดสอบทดลอง และวางเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป เช่น การฟัง ประสาทสัมผัสของมนุษย์ เป็นต้น 2) นักศึกษาสามารถอธิบายถึง เรื่องของการกำเนิดจักรวาลว่าเป็นมาอย่างไร มีนักวิทยาศาสตร์คนใดบ้าง ที่ศึกษาและค้นคว้า พัฒนาการของจักรวาล 3) นักศึกษาสามารถอธิบายถึง การกำเนิดมนุษย์ได้ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรก่อนที่เราจะเกิดมาเป็นมนุษย์ได้ 4) นักศึกษาสามารถอธิบายถึง เรื่องอะตอม

  2. 2 File : TU113_U7_01.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนา อานิสงส์ของการฟัง 1. ย่อมได้ฟังสิ่งที่ไม่เคยฟัง 2. สิ่งที่ได้ฟังแล้วย่อมชัดเจนขึ้น 3. บรรเทาความสงสัยเสียได้ 4. ทำความเห็นให้ตรงได้ 5. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละบรรทัดตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับการฟังธรรมมะ อานิสงส์ของการฟัง 1. ย่อมได้ฟังสิ่งที่ไม่เคยฟัง 2. สิ่งที่ได้ฟังแล้วย่อมชัดเจนขึ้น 3. บรรเทาความสงสัยเสียได้ 4. ทำความเห็นให้ตรงได้ 5. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส

  3. 3 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนา เกสปุตตสูตร 1. ท่านอย่าได้ถือโดยได้ฟังตามกันมา 2. อย่าได้ถือโดยลำดับสืบ ๆ กันมา 3. อย่าได้ถือโดยความตื่นว่าได้ยินอย่างนี้ๆ 4. อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา 5. อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา 6. อย่าได้ถือโดยนัยคือคาดคะเน 7. อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ 8. อย่าได้ถือโดยชอบใจว่า ต้องกับลัทธิของตน 9. อย่าได้ถือโดยเชื่อ ว่า ผู้พูดสมควรจะเชื่อได้ 10 อย่าได้ถือโดยความนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละบรรทัดตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับการฟัง เกสปุตตสูตร 1. ท่านอย่าได้ถือโดยได้ฟังตามกันมา 2. อย่าได้ถือโดยลำดับสืบ ๆ กันมา 3. อย่าได้ถือโดยความตื่นว่าได้ยินอย่างนี้ๆ 4. อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา 5. อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา 6. อย่าได้ถือโดยนัยคือคาดคะเน 7. อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ 8. อย่าได้ถือโดยชอบใจว่า ต้องกับลัทธิของตน 9. อย่าได้ถือโดยเชื่อ ว่า ผู้พูดสมควรจะเชื่อได้ 10 อย่าได้ถือโดยความนับถือว่า สมณะผู้นี้เป็นครูของเรา

  4. 4 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนา เกสปุตตสูตร เมื่อใดท่านรู้ด้วยตนนั่นแลว่าธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้ติเตียน ธรรมเหล่านี้ใครประพฤติให้เต็มที่แล้ว เป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เป็นไปเพื่อทุกข์ดังนี้ ท่านควรละธรรมเหล่านั้นเสียเมื่อนั้น • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับการฟัง เกสปุตตสูตร เมื่อใดท่านรู้ด้วยตนนั่นแลว่าธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้ติเตียน ธรรมเหล่านี้ใครประพฤติให้เต็มที่แล้ว เป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เป็นไปเพื่อทุกข์ดังนี้ ท่านควรละธรรมเหล่านั้นเสียเมื่อนั้น

  5. 5 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนา อินทรีย์ 5 1. ศรัทธา คือ ความเชื่อ ความเลื่อมใส 2. วิริยะ คือ ความเพียร 3. สติ คือ การระลึกได้ 4. สมาธิ คือ ความตั้งมั่นของจิต 5. ปัญญา คือ การรู้ตามความเป็นจริง • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละบรรทัดตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับอินทรีย์ 5 อินทรีย์ 5 1. ศรัทธา คือ ความเชื่อ ความเลื่อมใส 2. วิริยะ คือ ความเพียร 3. สติ คือ การระลึกได้ 4. สมาธิ คือ ความตั้งมั่นของจิต 5. ปัญญา คือ การรู้ตามความเป็นจริง

  6. 6 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • 340 ก่อนค.ศ. (พ.ศ.203)อริสโตเติ้ล (Aristotle) • ความคิดว่าโลกกลม • ค.ศ.2 (พ.ศ.545)ปโตเลมี (Ptolemy) • โลกเป็นจุดศูนย์กลาง เชื่อว่าโลกเราเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาลมีดวงดาวต่างๆโคจรรอบโลกรวมทั้งดวงอาทิตย์ด้วย • ค.ศ.1514 (พ.ศ.2057)นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicholas Copernicus) • โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงดาวต่างๆและโลกของเราโคจรอยู่รอบๆดวงอาทิตย์ “อริสโตเติ้ล” “นิโคลัส” “ปโตเลมี” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละBullet ตามเสียงบรรยาย • ภาพนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาการเรื่องจักรวาล ตามลำดับ ตั้งแต่ อริสโตเติ้ล ปโตเลมี และ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • 340 ก่อนค.ศ. (พ.ศ.203)อริสโตเติ้ล (Aristotle) • ความคิดว่าโลกกลม • ค.ศ.2 (พ.ศ.545)ปโตเลมี (Ptolemy) • โลกเป็นจุดศูนย์กลาง เชื่อว่าโลกเราเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาลมีดวงดาวต่างๆโคจรรอบโลกรวมทั้งดวงอาทิตย์ด้วย • ค.ศ.1514 (พ.ศ.2057)นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicholas Copernicus) • โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงดาวต่างๆและโลกของเราโคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์

  7. 7 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1609 (พ.ศ.2152)กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei)ดาวต่างๆ ไม่ได้โคจรรอบโลก • โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Capler) • วงโคจรของดาวเป็นวงรี • ค.ศ.1687 (พ.ศ.2230)เซอร์ไอแซค นิวตั้น (Sir Isaac Newton) • เอกภพไม่มีขอบเขต • (ทฤษฎีแรงโน้มถ่วง) “กาลิเลโอ กาลิเลอิ” “เซอร์ไอแซค นิวตั้น” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละBullet ตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาการเรื่องจักรวาล กาลิเลโอ กาลิเลอิ และ เซอร์ไอแซค นิวตั้น • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1609 (พ.ศ.2152)กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei)ดาวต่างๆ ไม่ได้โคจรรอบโลก • โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Capler) • วงโคจรของดาวเป็นวงรี • ค.ศ.1687 (พ.ศ.2230)เซอร์ไอแซค นิวตั้น (Sir Isaac Newton) • เอกภพไม่มีขอบเขต • (ทฤษฎีแรงโน้มถ่วง)

  8. 8 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1924 – 1929 เอ็ดวิน ฮับเบิ้ล (Edwin Hubble) • (พ.ศ.2467 - 2472) • เอกภพไม่ได้มีกาแล็กซี่เดียว • เอกภพกำลังขยายตัว เริ่มแนวคิด • ปรากฏการณ์ บิ๊กแบง (Big Bang) • ค.ศ.1905 – 1915 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) • (พ.ศ.2448 – 2458) • ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป • เอกภพถึงจุดจบ “ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์” “เอ็ดวิน ฮับเบิ้ล” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1924 – 1929 เอ็ดวิน ฮับเบิ้ล (Edwin Hubble) (พ.ศ.2467 - 2472)เอกภพไม่ได้มีกาแล็กซี่เดียว • เอกภพกำลังขยายตัว เริ่มแนวคิด • ปรากฏการณ์ บิ๊กแบง (Big Bang) • ค.ศ.1905 – 1915 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)(พ.ศ.2448 – 2458) • ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป • เอกภพถึงจุดจบ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละBullet ตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาการของจักรวาล เอ็ดวิน ฮับเบิ้ล และ อัลเบิร์ต ไอสไตน์

  9. 9 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1970 – ปัจจุบัน (พ.ศ.2513 – 2546) โรเจอร์ เพนโรส และ สตีเฟน ฮอว์กิ้ง • ภาวะ singularity หรือ หลุมดำ (Black Hole) • เอกภพเริ่มจากจุดเล็กที่สุด มวลและความหนาแน่นเป็นอนันต์ก่อนเกิดซูเปอร์โนวา (Supernova) • และบิ๊กแบง (Big Bang) “โรเจอร์ เพนโรส” “สตีเฟน ฮอว์กิ้ง” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล • ค.ศ.1970 – ปัจจุบัน (พ.ศ.2513 – 2546) โรเจอร์ เพนโรส และ สตีเฟน ฮอว์กิ้ง • ภาวะ singularity หรือ หลุมดำ (Black Hole) • เอกภพเริ่มจากจุดเล็กที่สุด มวลและความหนาแน่นเป็นอนันต์ก่อนเกิดซูเปอร์โนวา (Supernova) • และบิ๊กแบง (Big Bang) • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ โรเจอร์ เพนโรส และ สตีเฟน ฮอว์กิ้ง

  10. 10 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล กาแล็กซี่ มีจำนวนประมาณ 100,000 ล้านกาแล็กซี่ แต่ละกาแล็กซี่มีดาวประมาณ 100,000 ล้านดวง กาแล็กซี่ของเราเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง 186,000 x 60 x 60 x 24 x 365 x 100,000 = 586,569,600,000,000,000 ไมล์ “ระบบสุริยะจักรวาล” พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล กาแล็กซี่ มีจำนวนประมาณ 100,000 ล้านกาแล็กซี่ แต่ละกาแล็กซี่มีดาวประมาณ 100,000 ล้านดวง กาแล็กซี่ของเราเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง 186,000 x 60 x 60 x 24 x 365 x 100,000 = 586,569,600,000,000,000 ไมล์ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  11. 11 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล “อานนท์ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์แผ่รัศมี ส่องแสงทำให้สว่างไปทั่วทิศตลอดที่มีประมาณเท่าใด โลกมีเนื้อที่เท่านั้นจำนวน ๑,๐๐๐ ใน ๑,๐๐๐ โลกนั้น มีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ภูเขาสิเนรุอย่างละ ๑,๐๐๐ มีชมพูทวีป อปรโคยานทวีป อุตตรกุรุทวีป ปุพพวิเทหทวีปอย่างละ ๑,๐๐๐ มีมหาสมุทร มีมหาราชอย่างละ ๔,๐๐๐ มีสวรรค์ ๖ ชั้น และพรหมโลกชั้นละ ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุ “ระบบสุริยะจักรวาล” พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล “อานนท์ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์แผ่รัศมี ส่องแสงทำให้สว่างไปทั่วทิศตลอดที่มีประมาณเท่าใด โลกมีเนื้อที่เท่านั้นจำนวน ๑,๐๐๐ ใน ๑,๐๐๐ โลกนั้น มีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ภูเขาสิเนรุอย่างละ ๑,๐๐๐ มีชมพูทวีป อปรโคยานทวีป อุตตรกุรุทวีป ปุพพวิเทหทวีปอย่างละ ๑,๐๐๐ มีมหาสมุทร มีมหาราชอย่างละ ๔,๐๐๐ มีสวรรค์ ๖ ชั้น และพรหมโลกชั้นละ ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุ ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  12. 12 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ” “ระบบสุริยะจักรวาล” พัฒนาการการศึกษาเรื่องจักรวาล “อานนท์ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์แผ่รัศมี ส่องแสงทำให้สว่างไปทั่วทิศตลอดที่มีประมาณเท่าใด โลกมีเนื้อที่เท่านั้นจำนวน ๑,๐๐๐ ใน ๑,๐๐๐ โลกนั้น มีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ภูเขาสิเนรุอย่างละ ๑,๐๐๐ มีชมพูทวีป อปรโคยานทวีป อุตตรกุรุทวีป ปุพพวิเทหทวีปอย่างละ ๑,๐๐๐ มีมหาสมุทร มีมหาราชอย่างละ ๔,๐๐๐ มีสวรรค์ ๖ ชั้น และพรหมโลกชั้นละ ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุ ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุเท่าใด โลกเท่านั้นคูณโดยส่วน ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่า ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง ตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  13. 13 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล โลกธาตุ 3 1. สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ (โลกธาตุอย่างเล็กมีพันจักรวาล). 2. ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุ (โลกธาตุกลางมีล้านจักรวาล). 3. ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ (โลกธาตุใหญ่มีแสนโกฏิจักรวาล). “ระบบสุริยะจักรวาล” โลกธาตุ 3 1. สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ (โลกธาตุอย่างเล็กมีพันจักรวาล). 2. ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุ (โลกธาตุกลางมีล้านจักรวาล). 3. ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ (โลกธาตุใหญ่มีแสนโกฏิจักรวาล). • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  14. 14 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล ทวีป 4 1. อุตตรกุรุทวีป 2. ปุพพวิเทหทวีป 3. อปรโคยานทวีป 4. ชมพูทวีป “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 1. อุตตรกุรุทวีป 2. ปุพพวิเทหทวีป 3. อปรโคยานทวีป 4. ชมพูทวีป • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  15. 15 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล ทวีป 4 จักรวาลมีปริมณฑลทั้งหมด สามล้านหกแสนหนึ่ง หมื่นสามร้อยห้าสิบโยชน์แผ่นดินนี้ในจักรวาลนั้น บัณฑิตกล่าว ไว้โดยความหนามีประมาณสองแสนสี่หมื่นโยชน์ น้ำสำหรับรองแผ่นดิน ซึ่งมีประมาณสี่แสนแปด หมื่นโยชน์นั้นนั่นแลไว้โดยความหนาก็มีประมาณเท่านั้น ตั้ง อยู่บนลม ลมสำหรับธารน้ำแม้นั้นไว้ พุ่งขึ้นจดท้องฟ้าสูงเก้า แสนหกหมื่นโยชน์ ความตั้งอยู่แห่งโลกเป็นดังนี้. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 จักรวาลมีปริมณฑลทั้งหมด สามล้านหกแสนหนึ่งหมื่นสามร้อยห้าสิบโยชน์แผ่นดินนี้ในจักรวาลนั้น บัณฑิตกล่าวไว้โดยความหนามีประมาณสองแสนสี่หมื่นโยชน์. น้ำ สำหรับรองแผ่นดิน ซึ่งมีประมาณสี่แสนแปดหมื่น โยชน์นั้นนั่นแลไว้ โดยความหนาก็มีประมาณเท่านั้น ตั้งอยู่บนลม ลมสำหรับธารน้ำแม้นั้นไว้ พุ่งขึ้นจดท้องฟ้าสูงเก้าแสนหกหมื่นโยชน์ ความตั้งอยู่แห่งโลกเป็นดังนี้. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  16. 16 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล ทวีป 4 ก็ในจักรวาลนี้ ที่ตั้งอยู่แล้วอย่างนี้มีภูเขาสิเนรุ เยี่ยมกว่าบรรดาภูเขาทั้งหลายหยั่งลงในห้วงมหรรณพ ถึงแปด หมื่นสี่พันโยชน์สูงขึ้นไป ก็มีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน มหาบรรพตใหญ่ทั้ง 7 เหล่านี้ คือเขายุคันธร 1 เขา อิสิธร 1 เขากรวิกะ 1 เขาสุทัสสนะ 1 เขาเนมินธร 1 เขา วินัตตกะ 1 เขาอัสสกัณณะ 1 เป็นของทิพย์วิจิตรด้วยรัตนะ ต่างๆ หยั่งลงและสูงขึ้นไป ตามลำดับโดยประมาณกึ่งหนึ่งๆ จากประมาณแห่งสิเนรุที่กล่าวแล้ว “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ก็ในจักรวาลนี้ ที่ตั้งอยู่แล้วอย่างนี้มีภูเขาสิเนรุ เยี่ยมกว่าบรรดาภูเขาทั้งหลายหยั่งลงในห้วงมหรรณพ ถึงแปดหมื่นสี่พันโยชน์ สูงขึ้นไป ก็มีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน มหาบรรพตใหญ่ทั้ง ๗ เหล่านี้ คือเขายุคันธร ๑ เขาอิสินธร ๑ เขากรวิกะ ๑ เขาสุทัสสนะ ๑ เขาเนมินธร ๑ เขาวินัตตกะ ๑ เขาอัสสกัณณะ ๑ เป็นของทิพย์วิจิตรด้วยรัตนะต่าง ๆ หยั่งลง และสูงขึ้นไป ตามลำดับโดยประมาณกึ่งหนึ่ง ๆ จากประมาณแห่งสิเนรุที่กล่าวแล้ว • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  17. 17 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาล ทวีป 4 ทั้งเบื้องล่างและเบื้องบนนั้น เป็นสถานที่อยู่ของ ท้าวมหาราชมีเทวดาและยักษ์อาศัยอยู่ ตั้งเรียงรายอยู่โดย ราบภูเขาสิเนรุ ด้วยอำนาจเป็นเครื่องล้อม หิมวัตบรรพต สูง ห้าร้อยโยชน์ส่วนยาวและกว้างสามพันโยชน์ ประดับด้วยยอด แปดหมื่นสี่พันยอด จักรวาลบรรพต หยั่งลงในห้วงมหรรณพสองหมื่น แปดพันโยชน์สูงขึ้นไปจักรวาลบรรพตนี้ตั้งล้อมรอบโลกธาตุ ทั้งหมดนั้นอยู่. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ทั้งเบื้องล่างและเบื้องบนนั้น เป็นสถานที่อยู่ของท้าวมหาราชมีเทวดาและยักษ์อาศัยอยู่ ตั้งเรียงรายอยู่โดยราบภูเขาสิเนรุ ด้วยอำนาจเป็นเครื่องล้อม หิมวัตบรรพต สูงห้าร้อยโยชน์โดยส่วนยาวและกว้างสามพันโยชน์ ประดับด้วยยอดแปดหมื่นสี่พันยอด. จักรวาลบรรพต หยั่งลงในห้วงมหรรณพสองหมื่นแปดพันโยชน์ สูงขึ้นไปจักรวาลบรรพตนี้ตั้งล้อมรอบโลกธาตุทั้งหมดนั้นอยู่. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  18. 18 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ อัมพปาลีวัน ใกล้พระนครเวสาลี ณ ที่นั้นแลพระผู้มีพระภาค เจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ เหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ไม่ ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม นี่เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลาย กำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ อัมพปาลีวัน ใกล้พระนครเวสาลี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม นี้เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  19. 19 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขุนเขาสิเนรุ โดยยาว 84,000 โยชน์ โดยกว้าง 84,000 โยชน์ หยั่งลงในมหาสมุทร 84,000 โยชน์ สูงจากมหาสมุทรขึ้นไป 84,000โยชน์ มีกาลบางครั้งบาง คราวที่ฝนไม่ตกหลายปี หลายร้อยปี หลายพันปี หลายแสนปี เมื่อฝนไม่ตก พืชคามภูตคามและติณชาติที่ใช้เข้ายา ป่าไม้ ใหญ่ ย่อมเฉาเหี่ยวแห้ง เป็นอยู่ไม่ได้ ฉันใด สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม นี้เป็นกำหนด ควร เบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขุนเขาสิเนรุ โดยยาว ๘๔,๐๐๐ โยชน์ โดยกว้าง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ หยั่งลงในมหาสมุทร ๘๔,๐๐๐ โยชน์ สูงจากมหาสมุทรขึ้นไป ๘๔,๐๐๐ โยชน์ มีกาลบางคราวที่ฝนไม่ตกหลายปี หลายร้อยปี หลายพันปี หลายแสนปี เมื่อฝนไม่ตก พืชคาม ภูตคามและติณชาติที่ใช้เข้ายา ป่าไม้ใหญ่ ย่อมเฉาเหี่ยวแห้ง เป็นอยู่ไม่ได้ ฉันใด สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม นี้เป็นกำหนด ควรเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้น ในสังขารทั้งปวง. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  20. 20 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลายในกาลบางครั้งบางคราว โดย ล่วงไปแห่งกาลนานพระอาทิตย์ดวงที่ 2 ปรากฏ เพราะพระ อาทิตย์ดวงที่ 2 ปรากฏ แม่น้ำลำคลองทั้งหมด ย่อมงวดแห้ง ไม่มีน้ำฉันใด สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง..ควรหลุดพ้น. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดย ล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ 3 ปรากฏ เพราะพระ อาทิตย์ดวงที่ 3 ปรากฏ แม่น้ำสายใหญ่ๆ คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี ทั้งหมดย่อมงวดแห้ง ไม่มีน้ำ ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ...ควรหลุดพ้น. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ ๒ ปรากฏ เพราะพระอาทิตย์ดวงที่ ๒ ปรากฏ แม่น้ำลำคลองทั้งหมด ย่อมงวดแห้ง ไม่มีน้ำฉันใด สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง... ควรหลุดพ้น. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ ๓ ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ ๓ ปรากฏ แม่น้ำสายใหญ่ ๆ คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี ทั้งหมดย่อมงวดแห้ง ไม่มีน้ำ ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง... ควรหลุดพ้น. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  21. 21 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดย ล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ 4 ปรากฏ เพราะพระ อาทิตย์ดวงที่ 4 ปรากฏ แม่น้ำสายใหญ่ๆที่ไหลมารวมกันเป็น แม่น้ำสายใหญ่ คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหี ทั้งหมดย่อม งวดแห้ง ไม่มีน้ำฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง...ควรหลุดพ้น. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ ๔ ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ ๔ ปรากฏ แม่น้ำสายใหญ่ ๆ ที่ไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำใหญ่ คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี ทั้งหมดย่อมงวดแห้ง ไม่มีน้ำฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง... ควรหลุดพ้น. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับจักราวาล

  22. 22 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดย ล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ 5 ปรากฏ เพราะอาทิตย์ ดวงที่ 5 ปรากฏ น้ำในมหาสมุทรลึก 100 โยชน์ก็ดี 200 โยชน์ ก็ดี 300 โยชน์ก็ดี 400 โยชน์ก็ดี 500 โยชน์ก็ดี 600 โยชน์ก็ดี 700 โยชน์ก็ดี ย่อมงวดลงเหลืออยู่เพียง 7 ชั่วต้นตาลก็มี ชั่วต้นตาลก็มี 4 ชั่วต้นตาลก็มี 3 ชั่วต้นตาลก็มี 2 ชั่วเพียงเอว เพียงเข่า เพียงแต่ข้อเท้า เพียงในรอยเท้าโค “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ ๕ ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ ๕ ปรากฏ น้ำในมหาสมุทรลึก ๑๐๐ โยชน์ก็ดี ๒๐๐ โยชน์ก็ดี ๓๐๐ โยชน์ก็ดี ๔๐๐ โยชน์ก็ดี ๕๐๐ โยชน์ก็ดี ๖๐๐ โยชน์ก็ดี ๗๐๐ โยชน์ก็ดี ย่อมงวดลงเหลืออยู่เพียง ๗ ชั่วต้นตาลก็มี ชั่วต้นตาลก็มี ๕ ชั่วต้นตาลก็มี ๔ ชั่วต้นตาลก็มี ๓ ชั่วต้นตาลก็มี ๒ ชั่วเพียงเอว เพียงเข่า เพียงแต่ข้อเท้า เพียงในรอยเท้าโค • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  23. 23 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย น้ำในมหาสมุทรยังเหลืออยู่ เพียงในรอยเท้าโคในที่นั้นๆ เปรียบเหมือนในฤดูแล้ง เมื่อฝน เม็ดใหญ่ๆตกลงมา น้ำเหลืออยู่ในรอยเท้าโคที่นั้นๆฉะนั้น เพราะพระอาทิตย์ดวงที่ 5 ปรากฏ เปรียบเสมือนในฤดูแล้ง เมื่อ ฝนเม็ดใหญ่ๆ ฉะนั้น เพราะพระอาทิตย์ดวงที่ 5 ปรากฏ น้ำใน มหาสมุทรแม้เพียงข้อนิ้วก็ไม่มี ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง..ควรหลุดพ้น. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย น้ำในมหาสมุทรยังเหลืออยู่เพียงในรอยเท้าโคในที่นั้น ๆ เปรียบเหมือนในฤดูแล้ง เมื่อฝนเมล็ดใหญ่ ๆ ตกลงมา น้ำเหลืออยู่ในรอยเท้าโคในที่นั้น ๆ ฉะนั้น เพราะพระอาทิตย์ดวงที่ ๕ ปรากฏ เปรียบเหมือนในฤดูแล้ง เมื่อฝนเมล็ดใหญ่ ๆ ตกลงมา น้ำเหลืออยู่ในรอยเท้าโคในที่นั้น ๆ ฉะนั้น เพราะพระอาทิตย์ดวงที่ ๕ ปรากฏ น้ำในมหาสมุทรแม้เพียงข้อนิ้วก็ไม่มี ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง... ควรหลุดพ้น. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  24. 24 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลายในกาลบางครั้งบางคราว โดย ล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ 6 ปรากฏ เพราะอาทิตย์ ดวงที่ 6 ปรากฏ แผ่นดินใหญ่นี้และขุนเขาสิเนรุ ย่อมมีกลุ่มควัน พลุ่งขึ้น เปรียบเหมือนนายช่างหน้าหม้อเผาหม้อปั้นดีแล้ว ย่อมมีกลุ่มควันพลุ่งขึ้น ฉะนั้นดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขาร ทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง...ควรหลุดพ้น. “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลนาน พระอาทิตย์ดวงที่ ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ ๖ ปรากฏ แผ่นดินใหญ่นี้และขุนเขาสิเนรุ ย่อมมีกลุ่มควันพลุ่งขึ้น เปรียบเหมือนนายช่างหม้อเผาหม้อที่ปั้นดีแล้ว ย่อมมีกลุ่มควันพลุ่งขึ้น ฉะนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง... ควรหลุดพ้น. • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  25. 25 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราวโดยล่วงไปแห่ง กาลนานพระอาทิตย์ดวงที่ 7 ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ 7 ปรากฏแผ่นดินใหญ่นี้และขุนเขาสิเนรุ ไฟจะติดทั่วลุกโชติช่วง มีแสงเพลิงเป็นอันเดียวกัน เมื่อแผ่นดินใหญ่และขุนเขาสิเนรุไฟ เผา ลุกโชน ลม หอบเอาเปลวไฟฟุ้งไปจนถึงพรหมโลกเมื่อขุน เขาสิเนรุไฟเผาลุกโชนกำลังทะลาย ถูกกองเพลิงใหญ่เผาท่วม ตลอดแล้ว ยอดเขาแม้ขนาด 100 โยชน์ 200 โยชน์ 300 โยชน์ 400 โยชน์ 500 โยชน์ ย่อมพังทลาย เมื่อแผ่นดินใหญ่และ ขุนเขาสิเนรุถูกไฟเผาผลาญอยู่ ย่อมไม่ปรากฏขี้เถ้าและเขม่า เปรียบเหมือนเมื่อเนยใสหรือน้ำมันถูกไฟเผาผลาญอยู่ ย่อม ไม่ปรากฏขี้เถ้าและเขม่าฉะนั้น “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลบางครั้งบางคราวโดยล่วงไปแห่งกาลนานพระอาทิตย์ดวงที่ 7 ปรากฏ เพราะอาทิตย์ดวงที่ 7 ปรากฏแผ่นดินใหญ่นี้และขุนเขาสิเนรุ ไฟจะติดทั่วลุกโชติช่วงมีแสงเพลิงเป็นอันเดียวกัน เมื่อแผ่นดินใหญ่และขุนเขาสิเนรุไฟเผา ลุกโชน ลม หอบเอาเปลวไฟฟุ้งไปจนถึงพรหมโลกเมื่อขุนเขาสิเนรุไฟเผาลุกโชนกำลังทะลาย ถูกกองเพลิงใหญ่เผาท่วมตลอดแล้ว ยอดเขาแม้ขนาด 100 โยชน์ 200 โยชน์ 300 โยชน์400 โยชน์ 500 โยชน์ ย่อมพังทลาย เมื่อแผ่นดินใหญ่และขุนเขาสิเนรุถูกไฟเผาผลาญอยู่ ย่อมไม่ปรากฏขี้เถ้าและเขม่าเปรียบเหมือนเมื่อเนยใสหรือน้ำมันถูกไฟเผาผลาญอยู่ ย่อมไม่ปรากฏขี้เถ้าและเขม่าฉะนั้น • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  26. 26 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็น สภาพที่ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม ควรจะเบื่อหน่าย ควร คลายกำหนัดควรหลุดพ้นในสังขารทั้งปวง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ใครจะรู้ใครจะเชื่อว่า แผ่นดินนี้และขุนเขาสิเนรุจักถูกไฟไหม้พินาศไม่เหลืออยู่นอก จากอริยสาวกผู้มีบทอันเห็นแล้ว พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต สุริยสูตร “ระบบสุริยะจักรวาล” ทวีป 4 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นชม ควรจะเบื่อหน่าย ควรคลายกำหนัด ควรหลุดพ้นในสังขารทั้งปวง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ใครจะรู้ ใครจะเชื่อว่า แผ่นดินนี้และขุนเขาสิเนรุจักถูกไฟไหม้พินาศไม่เหลืออยู่ นอกจากอริยสาวกผู้มีบทอันเห็นแล้ว พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต สุริยสูตร • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย • ภาพเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล

  27. 27 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา Bertrand Russell (1872 – 1970): “Buddhism is a combination of both speculative and seientific philosophy. It advocates the seientific method and pursues that to a finality that may be called rationalistic. In it are to be found answers to such question of interes ; as “What are mind and matter? O; them which is of greater important? Is the Universe moving towards a goal? What is man’s position? Is there living that is noble?” It takes up where science cannot lead because ot the limitations of the latter’s instruments. Its conquests are those of the mind.” “Bertrand Russell” Bertrand Russell (1872 – 1970): “Buddhism is a combination of both speculative and seientific philosophy. It advocates the seientific method and pursues that to a finality that may be called rationalistic. In it are to be found answers to such question of interes ; as “What are mind and matter? O; them which is of greater important? Is the Universe moving towards a goal? What is man’s position? Is there living that is noble?” It takes up where science cannot lead because ot the limitations of the latter’s instruments. Its conquests are those of the mind.” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของ Bertrand Russell

  28. 28 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 จักรวาลทางพระพุทธศาสนา Bertrand Russell (1872 – 1970): “พระพุทธศาสนาเป็นการรวมกันของปรัชญาแบบเก็งความ จริงกับวิทยาศาสตร์ พระพุทธศาสนานั้นสนับสนุนวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ และติดตามวิธีการนั้นจนถึงที่สุด ซึ่งอาจเรียกได้ ว่าเป็นศาสนาแห่งเหตุผล ในพระพุทธศาสนาเราได้รับคำตอบ ที่น่าสนใจเช่น จิตใจกับวัตถุคืออะไร ระหว่างจิตใจกับวัตถุนั้น อย่างไหนสำคัญกว่ากัน เอกภพเคลื่อนไปหาจุดหมาย ปลายทางหรือไม่ พระพุทธศาสนาพูดถึงเรื่องที่วิทยาศาสตร์ ยังนำไปไม่ได้เพราะความจำกัดแห่งเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ชัยชนะของพระพุทธศาสนาเป็นชัยชนะทางจิตใจ” “Bertrand Russell” Bertrand Russell (1872 – 1970): “พระพุทธศาสนาเป็นการรวมกันของปรัชญาแบบเก็งความจริงกับวิทยาศาสตร์ พระพุทธศาสนานั้นสนับสนุนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และติดตามวิธีการนั้นจนถึงที่สุด ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นศาสนาแห่งเหตุผล ในพระพุทธศาสนาเราได้รับคำตอบที่น่าสนใจเช่น จิตใจกับวัตถุคืออะไร ระหว่างจิตใจกับวัตถุนั้นอย่างไหนสำคัญกว่ากัน เอกภพเคลื่อนไปหาจุดหมายปลายทางหรือไม่ พระพุทธศาสนาพูดถึงเรื่องที่วิทยาศาสตร์ยังนำไปไม่ได้เพราะความจำกัดแห่งเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ชัยชนะของพระพุทธศาสนาเป็นชัยชนะทางจิตใจ” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของ Bertrand Russell

  29. 29 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • 370 ปีก่อนคริสตศักราชดีโมคริตุส • (Democritus) (พ.ศ.173) • สสารทั้งหลายประกอบด้วยอะตอม • ค.ศ. 1803 จอห์น ดาลตัน (John Dalton) • (พ.ศ.2346) • อะตอมประกอบกันเป็นโมเลกุล “ดีโมคริตุส” “จอห์น ดาลตัน” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • 370 ปีก่อนคริสตศักราชดีโมคริตุส (Democritus) (พ.ศ.173) • สสารทั้งหลายประกอบด้วยอะตอม • ค.ศ. 1803 จอห์น ดาลตัน (John Dalton) (พ.ศ.2346) • อะตอมประกอบกันเป็นโมเลกุล • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยายจากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องการพัฒนาการของอะตอม ได้แก่ ดีโมคริตุส และ จอห์น ดาลตัน

  30. 30 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ. 1905 – 1911 เจ.เจ. ทอมสัน (J.J. Thomson) • (พ.ศ.2448 – พ.ศ. 2454) • พบอิเล็กตรอนมีมวลน้อยกว่าอะตอม 1,000 เท่า • ค.ศ. 1911 เออร์เนส รูเธอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford) • (พ.ศ.2454) • พบแกนกลางเป็น โปรตรอน ประจุบวก อิเล็กตรอนประจุลบโคจรรอบ “ เจ.เจ. ทอมสัน” “เออร์เนส รูเธอร์ฟอร์ด” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ. 1905 – 1911 เจ.เจ. ทอมสัน (J.J. Thomson) • (พ.ศ.2448 – พ.ศ. 2454) • พบอิเล็กตรอนมีมวลน้อยกว่าอะตอม 1,000 เท่า • ค.ศ. 1911 เออร์เนส รูเธอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford) • (พ.ศ.2454) • พบแกนกลางเป็น โปรตรอน ประจุบวก อิเล็กตรอนประจุลบโคจรรอบ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Tex ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาการของอะตอม ได้แก่ เจ.เจ ทอมสันและ เออร์เนส เธอร์ฟอร์ด

  31. 31 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1920 เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก, เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ และ พอล ดิแร็ก(พ.ศ.2463) • ทฤษฎีกลศาสตร์แบบควอนตั้ม (quantum mechanics) • อะตอมมีลักษณะเหมือนกับดวงอาทิตย์ที่มีการโคจรรอบ • ซึ่งมีความไม่แน่นอนที่จะชนกับนิวเคลียสหรือไม่ชนก็ได้ • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1920 เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก, เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ และ พอล ดิแร็ก(พ.ศ.2463) • ทฤษฎีกลศาสตร์แบบควอนตั้ม (quantum mechanics) • อะตอมมีลักษณะเหมือนกับดวงอาทิตย์ที่มีการโคจรรอบ • ซึ่งมีความไม่แน่นอนที่จะชนกับนิวเคลียสหรือไม่ชนก็ได้ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาการของอะตอม ได้แก่ เวอร์เนอร์ไฮเซนเบิร์ก, เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ และ พอล ดิแร็ก ตามลำดับ

  32. 32 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1926 เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg) • (พ.ศ.2469) • หลักของความไม่แน่นอน (Uncertainty Principle) • การวัดความเร็วของอนุภาคกับตำแหน่งของอนุภาค ไม่มีวัน • ถูกต้องพร้อมกัน เพราะอนุภาคเปลี่ยนเป็นคลื่น หรือคลื่น • เปลี่ยนเป็นอนุภาค • ค.ศ.1932 เจมส์ แซดวิค (James Chadwick) • (พ.ศ.2475) • พบนิวตรอน ไม่มีประจุไฟฟ้าในนิวเคลียส “ประจุไฟฟ้านิวตรอน” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1926 เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg) • (พ.ศ.2469) • หลักของความไม่แน่นอน (Uncertainty Principle) • การวัดความเร็วของอนุภาคกับตำแหน่งของอนุภาค ไม่มีวันถูกต้องพร้อมกัน เพราะอนุภาคเปลี่ยนเป็นคลื่น หรือคลื่นเปลี่ยนเป็นอนุภาค • ค.ศ.1932 เจมส์ แซดวิค (James Chadwick) (พ.ศ.2475) • พบนิวตรอน ไม่มีประจุไฟฟ้าในนิวเคลียส • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับประจุไฟฟ้านิวตรอน

  33. 33 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1933 พอล ดิแร็ก (Paul Dirac) (พ.ศ.2476) • พบอิเล็กตรอนปฏิปักษ์ (anti – electron) หรือ โปสิตรอน • (positron) • ค.ศ.1969 เมอร์เรย์ เจล - แมน (Murray Gell – • Mann) • (พ.ศ.2512) • พบ ควาร์ค อนุภาคเล็กภายในโปรตรอน 3 ตัว • ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) • พบควาร์ค 6 ตัว up, down, strange, charmed, bottom and • top “ พอล ดิแร็ก” • พัฒนาการการศึกษาเรื่องอะตอม • ค.ศ.1933 พอล ดิแร็ก (Paul Dirac) (พ.ศ.2476) • พบอิเล็กตรอนปฏิปักษ์ (anti – electron) หรือ โปสิตรอน (positron) • ค.ศ.1969 เมอร์เรย์ เจล - แมน (Murray Gell - Mann) • (พ.ศ.2512) • พบ ควาร์ค อนุภาคเล็กภายในโปรตรอน 3 ตัว • ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) • พบควาร์ค 6 ตัว up, down, strange, charmed, bottom and top • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละพารากราฟตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับพอล ดิแร็ก และภาพเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องอะตอมของพอล

  34. 34 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม ๑ อังคุละ (นิ้ว) ประมาณ ๗ ธัญญมาส ๑ ธัญญมาส (เมล็ดข้าวเปลือก) ประมาณ ๗ โอกา ๑ โอกา (ตัวเหา) ประมาณ ๗ ลิกขา ๑ ลิกขา (ไข่เหา) ประมาณ ๓๖ รถเรณู ๑ รถเรณู (ละอองรถ) ประมาณ ๓๖ ตัชชารี ๑ ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น) ประมาณ ๓๖ อณู ๑ อณู ประมาณ ๓๖ ปรมาณู ๑ ปรมาณู เท่ากับ ๑ / ๘๒,๓๐๑,๑๘๔ ธัญญมาส อวินิพโภครูป รูปที่แยกจากกันไม่ได้ มี ๘ ปฐวี อาโป เตโช วาโย รูปารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ อาหารรูป พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ นิ้ว ข้าว หมัด ๑ อังคุละ (นิ้ว) ประมาณ ๗ ธัญญมาส ๑ ธัญญมาส (เมล็ดข้าวเปลือก) ประมาณ ๗ โอกา ๑ โอกา (ตัวเหา) ประมาณ ๗ ลิกขา ๑ ลิกขา (ไข่เหา) ประมาณ ๓๖ รถเรณู ๑ รถเรณู (ละอองรถ) ประมาณ ๓๖ ตัชชารี ๑ ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น) ประมาณ ๓๖ อณู ๑ อณู ประมาณ ๓๖ ปรมาณู ๑ ปรมาณู เท่ากับ ๑ / ๘๒,๓๐๑,๑๘๔ ธัญญมาส อวินิพโภครูป รูปที่แยกจากกันไม่ได้ มี ๘ ปฐวี อาโป เตโช วาโย รูปารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ อาหารรูป พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละบรรทัดตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับพระอภิธรรมปิฏก วิภังค์

  35. 35 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม Albert Einstein (1879 – 1955): “The religion of the future will be acosmic religion. It should transcend a personal God and avoid dogmas and theology. Covering both the natural and the spirtiual, it should be based on a religious sense arising from the experience of all things, natural and spiritual as a meaningful unity. Buddhism answers this description…… If there is any religion that could cope with modern scientific needs it would be Buddhism.” “Albert Einstein” Albert Einstein (1879 – 1955): “The religion of the future will be acosmic religion. It should transcend a personal God and avoid dogmas and theology. Covering both the natural and the spirtiual, it should be based on a religious sense arising from the experience of all things, natural and spiritual as a meaningful unity. Buddhism answers this description…… If there is any religion that could cope with modern scientific needs it would be Buddhism.” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับ Albert Einstein

  36. 36 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 อะตอม Albert Einstein (1879 – 1955): “ศาสนาในอนาคตจะต้องเป็นศาสนาสากล ศาสนานั้นควรอยู่ เหนือพระเจ้าที่มีตัวตน และควรจะเว้นคำสอนแบบสำเร็จรูปที่ ให้เชื่อตามเพียงอย่างเดียว และแบบเทววิทยาคืออ้างเอา เทวดาเป็นหลักใหญ่ ศาสนานั้นเมื่อครอบคลุมทั้งธรรมชาติ และจิตใจจึงควรมีรากฐานอยู่บนความสำนึกทางศาสนาที่ เกิดขึ้นจากประสบการณ์ต่อสิ่งทั้งปวงคือทั้งธรรมชาติและ จิตใจอย่างเป็นหน่วยรวมที่มีความหมายพระพุทธศาสนาตอบ ข้อกำหนดนี้ได้ …. ถ้าจะมีศาสนาใดที่รับมือได้กับความ ต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน ศาสนานั้นก็ควรเป็น พระพุทธศาสนา” “Albert Einstein” Albert Einstein (1879 – 1955): “ศาสนาในอนาคตจะต้องเป็นศาสนาสากล ศาสนานั้นควรอยู่เหนือพระเจ้าที่มีตัวตน และควรจะเว้นคำสอนแบบสำเร็จรูปที่ให้เชื่อตามเพียงอย่างเดียว และแบบเทววิทยาคืออ้างเอาเทวดาเป็นหลักใหญ่ ศาสนานั้นเมื่อครอบคลุมทั้งธรรมชาติและจิตใจจึงควรมีรากฐานอยู่บนความสำนึกทางศาสนาที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ต่อสิ่งทั้งปวงคือทั้งธรรมชาติและจิตใจอย่างเป็นหน่วยรวมที่มีความหมาย พระพุทธศาสนาตอบข้อกำหนดนี้ได้ …. ถ้าจะมีศาสนาใดที่รับมือได้กับความต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน ศาสนานั้นก็ควรเป็นพระพุทธศาสนา” • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพ เกี่ยวกับ Albert Einstein

  37. 37 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 กำเนิดมนุษย์ รูปนี้เป็นกลละก่อน จากกลละเป็นอัพพุทะ จากอัพพุทะเกิดเป็นเปสิ จากเปสิเกิดเป็นฆนะ จากฆนะเกิดเป็น ๕ ปุ่ม รูปนี้เป็นกลละก่อน จากกลละเป็นอัพพุทะ จากอัพพุทะเกิดเป็นเปสิ จากเปสิเกิดเป็นฆนะ จากฆนะเกิดเป็น ๕ ปุ่ม • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละบรรทัดตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับทารกที่อยู่ในครรภ์มารดา

  38. 38 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 กำเนิดมนุษย์ ต่อจากนั้นมีผมขนและเล็บเกิดขึ้น มารดาของสัตว์ในครรภ์บริโภคข้าวน้ำโภชนาหารอย่างใด สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดานั้นก็ยังอัตภาพให้เป็นไป ด้วยอาหารอย่างนั้นในครรภ์นั้น ต่อจากนั้นมีผมขนและเล็บเกิดขึ้น มารดาของสัตว์ในครรภ์บริโภคข้าวน้ำโภชนาหารอย่างใด สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดานั้นก็ยังอัตภาพให้เป็นไป ด้วยอาหารอย่างนั้นในครรภ์นั้น • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับทารกที่อยู่ในครรภ์มารดา

  39. 39 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 กำเนิดมนุษย์ กลละมีประมาณเท่าหยาดน้ำมันงา ซึ่งตั้งอยู่ที่ปลายเส้นด้ายที่ทำด้วยเส้นขนสัตว์ ๓ เส้น หมายความว่า หยาดแห่งน้ำมันงา เนยใส ใสไม่ขุ่นมัว กลละมีสีคล้ายกัน ฉันนั้น เมื่อกลละนั้นล่วงไป ๗ วันก็มีสีเหมือนน้ำล้างเนื้อ จึงชื่อว่า อัมพุทะ กลละมีประมาณเท่าหยาดน้ำมันงา ซึ่งตั้งอยู่ที่ปลายเส้นด้ายที่ทำด้วยเส้นขนสัตว์ ๓ เส้น หมายความว่า หยาดแห่งน้ำมันงา เนยใส ใสไม่ขุ่นมัว กลละมีสีคล้ายกัน ฉันนั้น เมื่อกลละนั้นล่วงไป ๗ วันก็มีสีเหมือนน้ำล้างเนื้อ จึงชื่อว่า อัมพุทะ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับการที่จะเกิดเป็นมนุษย์

  40. 40 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 กำเนิดมนุษย์ เป็นกลละอยู่ ๗ วัน ครั้นแก่ข้นขึ้นเปลี่ยนภาวะนั้นเกิดเป็น อัมพุทะ เมื่ออัมพุทะนั้นล่วงไป ๗ วัน ก็เกิดเป็นเปสิ คล้ายดีบุกเหลว เปสินั้นพึงแสดงด้วยน้ำตาลเม็ดพริกไทย เด็กชาวบ้านถือเอาพริกไทยสุกทำเป็นห่อไว้ที่ชายผ้า ขยำเอาแต่ส่วนที่ดี ใส่ลงในกระเบื้องตากแดด เม็ดพริกไทยนั้นแห้ง ๆ ย่อมหลุดตกเปลือกทั้งหมด เป็นกลละอยู่ ๗ วัน ครั้นแก่ข้นขึ้นเปลี่ยนภาวะนั้นเกิดเป็น อัมพุทะ เมื่ออัมพุทะนั้นล่วงไป ๗ วัน ก็เกิดเป็นเปสิ คล้ายดีบุกเหลว เปสินั้นพึงแสดงด้วยน้ำตาลเม็ดพริกไทย เด็กชาวบ้านถือเอาพริกไทยสุกทำเป็นห่อไว้ที่ชายผ้า ขยำเอาแต่ส่วนที่ดี ใส่ลงในกระเบื้องตากแดด เม็ดพริกไทยนั้นแห้ง ๆ ย่อมหลุดตกเปลือกทั้งหมด • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพอธิบายเกี่ยวกับการเกิดเป็นมนุษย์

  41. 41 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 กำเนิดมนุษย์ เป็นอัมพุทะอยู่ ๗ วัน แก่ข้นขึ้นเปลี่ยนภาวะนั้น เกิดเป็นเปสิ เมื่อเปสินั้นล่วงไป ๗ วัน ก้อนเนื้อชื่อ ฆนะ มีสัณฐานเท่าไข่เกิดเป็นก้อนกลมโดยรอบ ในสัปดาห์ที่ ๕ เกิดปุ่มขึ้น ๕ แห่ง เพื่อเป็นมือและเท้าอย่างละ ๒ และเป็นศีรษะ ๑ เป็นอัมพุทะอยู่ ๗ วัน แก่ข้นขึ้นเปลี่ยนภาวะนั้น เกิดเป็นเปสิ เมื่อเปสินั้นล่วงไป ๗ วัน ก้อนเนื้อชื่อ ฆนะ มีสัณฐานเท่าไข่เกิดเป็นก้อนกลมโดยรอบ ในสัปดาห์ที่ ๕ เกิดปุ่มขึ้น ๕ แห่ง เพื่อเป็นมือและเท้าอย่างละ ๒ และเป็นศีรษะ ๑ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับเด็กทารกในแต่ละช่วงเวลา

  42. 42 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 ประสาทสัมผัส จักขุประสาท รูปนี้ชื่อว่า ปสาทจักขุ จักขุประสาทนี้ตั้งอยู่ซึมซาบตลอดเยื้อตา ๗ ชั้น เหมือนน้ำมันที่ลาดลงที่ปุยนุ่น ๗ ชั้น ในแววตาที่เห็นรูปเป็นเช่นกับถิ่นที่เกิดขึ้นแห่งสรีรสัณฐานของบุคคลทั้งหลายผู้ยืนอยู่ตรงหน้าในท่ามกลางแห่งแววตาสีดำแวดล้อมด้วยแววตาสีขาวแห่งสสัมภารจักษุนั้น “จักขุประสาท” จักขุประสาท รูปนี้ชื่อว่า ปสาทจักขุ จักขุประสาทนี้ตั้งอยู่ซึมซาบตลอดเยื้อตา ๗ ชั้น เหมือนน้ำมันที่ลาดลงที่ปุยนุ่น ๗ ชั้น ในแววตาที่เห็นรูปเป็นเช่นกับถิ่นที่เกิดขึ้นแห่งสรีรสัณฐานของบุคคลทั้งหลายผู้ยืนอยู่ตรงหน้าในท่ามกลางแห่งแววตาสีดำแวดล้อมด้วยแววตาสีขาวแห่งสสัมภารจักษุนั้น • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของดวงตาและประสาทตา

  43. 43 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 ประสาทสัมผัส โสตประสาท ธรรมที่ชื่อว่า โสต เพราะอรรถว่า ได้ยิน โสตนั้นตั้งอยู่ใประเทศ มีสัณฐานดังวงแหวนมีขนแดงละเอียดงอกขึ้นภายในช่อง แห่งสสัมภารโสต “โสตประสาท” โสตประสาท ธรรมที่ชื่อว่า โสต เพราะอรรถว่า ได้ยิน โสตนั้นตั้งอยู่ใประเทศมีสัณฐานดังวงแหวนมีขนแดงละเอียดงอกขึ้นภายในช่องแห่งสสัมภารโสต • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับหูและประสาทหู

  44. 44 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 ประสาทสัมผัส ฆานประสาท ธรรมที่ชื่อว่า ฆานะ เพราะอรรถว่า ย่อมสูดกลิ่น. ฆานะที่เป็น ประสาทรูปนั้นตั้งอยู่ในประเทศมีสัณฐานดังกีบเท้าแพ ภายใน ช่องสสัมภารฆานะ “ฆานประสาท” ฆานประสาท ธรรมที่ชื่อว่า ฆานะ เพราะอรรถว่า ย่อมสูดกลิ่น. ฆานะที่เป็นประสาทรูปนั้นตั้งอยู่ในประเทศมีสัณฐานดังกีบเท้าแพ ภายในช่องสสัมภารฆานะ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับจมูกและประสาทของจมูก

  45. 45 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 ประสาทสัมผัส ชิวหาประสาท ธรรมที่ชื่อว่า ชิวหา ด้วยอรรถว่า ลิ้มรส ชิวหาที่เป็นปสาทรูปนั้น ตั้งอยู่ในประเทศมีสัณฐานดังปลายกลีบอุบล เบื้องบน ท่ามกลางสสัมภารชิวหา “ชิวหาประสาท” ชิวหาประสาท ธรรมที่ชื่อว่า ชิวหา ด้วยอรรถว่า ลิ้มรส ชิวหาที่เป็นปสาทรูปนั้นตั้งอยู่ในประเทศมีสัณฐานดังปลายกลีบอุบล เบื้องบนท่ามกลางสสัมภารชิวหา • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพเกี่ยวกับปากและประสาทของปาก

  46. 46 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 ประสาทสัมผัส กายประสาท แต่ในกายนี้ ชื่อว่า อุปาทินนกรูป มีประการเพียงใด กายายต นะก็ตั้งอยู่ในกายทั้งสิ้น เหมือนยางใยในฝ้ายได้อุปการะ “กายประสาท” กายประสาท แต่ในกายนี้ ชื่อว่า อุปาทินนกรูป มีประการเพียงใด กายายตนะก็ตั้งอยู่ในกายทั้งสิ้น เหมือนยางใยในฝ้ายได้อุปการะ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทั้งหมดพร้อมกัน จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของประสาทร่างกาย

  47. 47 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 หลักธรรมสากล อานิสงส์ของการแปรงฟัน 1. สายตาดี 2. ปากไม่มีกลิ่นเหม็น 3. ประสาทรับรสหมดจด 4. ดีและเสมหะไม่รึงรัดอาหาร 5. รับประทานอาหารมีรส อานิสงส์ของการแปรงฟัน 1. สายตาดี 2. ปากไม่มีกลิ่นเหม็น 3. ประสาทรับรสหมดจด 4. ดีและเสมหะไม่รึงรัดอาหาร 5. รับประทานอาหารมีรส • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของการแปรงฟัน

  48. 48 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 หลักธรรมสากล ผู้หลับน้อยตื่นมากในราตรี 1. สตรีผู้มีความประสงค์บุรุษ 2. บุรุษผู้มีความประสงค์สตรี 3. โจรผู้มีความประสงค์จะลักทรัพย์ 4. พระราชาผู้ประกอบในราชกรณียกิจ 5. ภิกษุผู้มีความประสงค์จะปราศจากสัญโญชน์ ผู้หลับน้อยตื่นมากในราตรี 1. สตรีผู้มีความประสงค์บุรุษ 2. บุรุษผู้มีความประสงค์สตรี 3. โจรผู้มีความประสงค์จะลักทรัพย์ 4. พระราชาผู้ประกอบในราชกรณียกิจ 5. ภิกษุผู้มีความประสงค์จะปราศจากสัญโญชน์ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของคนนอนหลับตอนกลางวัน

  49. 49 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 หลักธรรมสากล ชายหญิงผูกผันกันด้วยอาการ 8 1. รูป 2. การหัวเราะ 3. การพูด 4. การร้องเพลง 5. การร้องไห้ 6. อากัปปกิริยา 7. ของขวัญ 8. ผัสสะ ชายหญิงผูกผันกันด้วยอาการ 8 1. รูป 2. การหัวเราะ 3. การพูด 4. การร้องเพลง 5. การร้องไห้ 6. อากัปปกิริยา 7. ของขวัญ 8. ผัสสะ • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของคู่รักชายหญิง

  50. 50 File : PR01_004.swf (From slide 2 of power point) หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 หลักธรรมสากล สตรีที่บุรุษชอบใจแท้ 1. รูปงาม 2. มีทรัพย์ 3. มีศีล 4. ขยันไม่เกียจคร้าน 5. มีบุตรกับบุรุษนั้น สตรีที่บุรุษชอบใจแท้ 1. รูปงาม 2. มีทรัพย์ 3. มีศีล 4. ขยันไม่เกียจคร้าน 5. มีบุตรกับบุรุษนั้น • เทคนิคการนำเสนอในหน้านี้ ให้แสดง Text ทีละข้อตามเสียงบรรยาย จากนั้นแสดงภาพ ตามหัวข้อ ที่ละภาพ • ภาพของผู้หญิง

More Related