190 likes | 372 Views
เทคนิค กระบวนการ และวิธีการจัดทำโครงการ. นายสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
E N D
เทคนิค กระบวนการ และวิธีการจัดทำโครงการ นายสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการของจังหวัดเพื่อจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด(พ.ศ. 2553-56) และแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2555 ของจังหวัดนนทบุรี 8 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
ประเด็นนำเสนอ 1 สรุปผลการพิจารณาที่ผ่านมา แนวทางปรับปรุง 2
หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ปี 2554 ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณ จ./ กจ. ลักษณะโครงการที่ไม่ให้เสนอเป็นคำของบประมาณ จ./ กจ. • เป็นโครงการที่ต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. มีวัตถุประสงค์หลักในการจัดซื้อครุภัณฑ์ และขุดลอกคลอง* 2. มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน (เว้นแต่ฝึกอบรมด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่งมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา) 3. เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย 4. เป็นโครงการที่เน้นเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งในระดับจุลภาคหรือระดับชุมชนย่อย 5. เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจประจำของส่วนราชการ หรือ อปท. อยู่แล้ว 6. เป็นโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับโครงการที่ได้รับอนุมัติภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 • การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์(Creative Economy) อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า OTOP และการพัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร • การฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/พื้นที่พิเศษ • อาทิ กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล * มติ ก.น.จ. วันที่ 19 พ.ย. 52 * กรณีที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัดใดจะจัดทำโครงการเกี่ยวกับถนนและการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการนั้นจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์และมีสัดส่วนที่เหมาะสม www.nesdb.go.th
การพิจารณาคุณภาพแผนจังหวัด/กลุ่มจังหวัดปี 2554 • มีโครงการทุกแหล่งงบประมาณ (จังหวัด กระทรวง/กรม / ท้องถิ่น / เอกชน) • สอดคล้องตอบสนองกลยุทธ์ • สอดคล้องหลักเกณฑ์พิจารณาโครงการของ กนจ. - มีข้อมูลเพียงพอสำหรับทำความเข้าใจสภาพพื้นฐานทั่วไปของจังหวัด • เสนอข้อมูลศก. สังคม ทรัพยากรฯ และ สวล. ในเชิงวิเคราะห์ศักยภาพและความรุนแรงของปัญหา • ทำ SWOTAnalysis สอดคล้องกับข้อมูลที่เสนอ • สรุปปัญหาและความต้องการประชาชนจากประชาคมที่สะท้อนปัญหาเชิงพื้นที่ แผนงาน/โครงการ ข้อมูลสภาพทั่วไป • สอดคล้องเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ • แสดงแนวทางการดำเนินงานชัดเจนเพื่อกำหนดแผนงานโครงการ การวิเคราะห์สภาวการณ์ และศักยภาพ กลยุทธ์ องค์ประกอบแผนจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย • สะท้อนการบรรลุเป้าประสงค์ได้ชัดเจน • มีค่าเป้าหมายแสดงความก้าวหน้าจากปัจจุบัน วิสัยทัศน์ • สอดคล้องกับข้อมูลและเป็นไปได้ • มีจุดเน้นชัดเจนสอดคล้องกับลักษณะของจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ • สนับสนุนการบรรลุวิสัยทัศน์ • สื่อทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน • สอดคล้องนโยบายรัฐบาล แผนฯชาติ และกรอบยุทธศาสตร์ภาค • สอดคล้อง สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ • ชัดเจนเป็นรูปธรรม www.nesdb.go.th
สรุปคุณภาพแผนพัฒนากลุ่มจว./จว.ปีงบประมาณ 2554 ข้อมูลสภาพทั่วไป ยังมีน้อย เป็นข้อมูลกว้างๆ ไม่เชื่อมโยงกับมิติการพัฒนาที่สำคัญของจังหวัด การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน มีลักษณะเป็นข้อความเชิงความเห็นทั่วไปและขาดข้อมูลสนับสนุน วิสัยทัศน์บางจังหวัดมีลักษณะกว้างเกินไปและครอบคลุมมาก บางจังหวัดกระชับสั้นเกินไปจนไม่ให้ความหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ ส่วนใหญ่ยังเป็นข้อความที่มีความหมายกว้างเกินไป ไม่สะท้อนมิติการพัฒนาที่สำคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้อย่างชัดเจน ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย บางตัวชี้วัดไม่ครอบคลุมและไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับเป้าประสงค์ที่จะวัด บางตัวชี้วัดอิงปัจจัยภายนอกที่ไม่อยู่ในวิสัยการควบคุมของจังหวัด เช่น GPP และมูลค่าการส่งออก กลยุทธ์ ส่วนใหญ่มีความหมายกว้างและไม่ได้แสดงแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน แผนงานและโครงการ ส่วนใหญ่ตอบสนองแนวทางการพัฒนา แต่ยังขาดการบูรณาการงบประมาณระหว่างกระทรวง / กรม จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 5 www.nesdb.go.th
สรุปคุณภาพโครงการปีงบประมาณ 2554 โครงการไม่ตอบสนองวิสัยทัศน์ หรือยุทธศาสตร์หลักของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด โครงการขาดการบูรณาการกิจกรรมในแนวตั้งเพื่อให้ผลที่ได้รับเกิดความยั่งยืน และโครงการขาดการบูรณาการกิจกรรมระหว่างหน่วยงานทำให้มีลักษณะแยกส่วนตามบทบาทภารกิจของตนเองทำให้มี impact ต่ำและขาดการหนุนเสริมเชิงกิจกรรม ข้อเสนอโครงการไม่มีความชัดเจน ขาดหลักการเหตุผลความจำเป็น องค์ประกอบโครงการ/กิจกรรมไม่ได้ระบุรายละเอียดการดำเนินงาน โครงการขนาดเล็กค่อนข้างมาก ซึ่งไม่สามารถสร้างผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์ให้กับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดในภาพรวมได้ เนื้อหาโครงการสะท้อนการขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง ตั้งแต่ขั้นตอนของการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน จนถึงขั้นตอนของการจัดทำโครงการร่วมกัน www.nesdb.go.th
ประเด็นนำเสนอ 1 สรุปผลการพิจารณาที่ผ่านมา แนวทางปรับปรุง 2
ตัวอย่าง.........Framework: กระบวนการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด....................... กิจกรรมร่วม วิทยากรดำเนินการ Outputs แบ่ง 4 กลุ่มย่อย (เกษตร, การท่องเที่ยว, สังคม/คุณภาพชีวิต, ความมั่นคง วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของ ปชช.ใน จังหวัด ประเด็นการพัฒนาที่สำคัญ ขั้นตอนที่ 1 สมาชิกกลุ่มเตรียมข้อมูล ฝ่ายเลขาฯ จัดทำเอกสาร Identify target group/value proposition /(SWOT) วิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก ขั้นตอนที่ 2 เช้า-วิเคราะห์บ่าย-สังเคราะห์/ริเริ่ม ฝ่ายเลขาฯ จัดทำเอกสาร สมาชิกกลุ่มเตรียมข้อมูล ช่วยกันคิดแผนงาน/โครงการ (ร่าง) แผนพัฒนาจังหวัด........... 4 ปี (2554-2557) เช้า-บ่าย วิเคราะห์ข้อเสนอบ่าย-สรุป กิจกรรม/งบฯ ขั้นตอนที่ 3
กรอบการทบทวน... วิสัยทัศน์ แยกให้ออกระหว่าง Ultimate objective กับ Strategic objective ที่ต้องการให้เกิดในช่วง 4 ปีข้างหน้า วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก1 Project ideas 1,2,3,4,5,… Project ideas 1,2,3,4,5,… กลยุทธ์หลัก2 Project ideas 1,2,3,4,5,… กลยุทธ์หลัก3
สรุปลักษณะข้อเสนอโครงการที่เข้าตากรรมการ...สรุปลักษณะข้อเสนอโครงการที่เข้าตากรรมการ... • มีกิจกรรมที่ตอบโจทย์ความต้องการ/นโยบาย/ยุทธศาสตร์ (Effectiveness principle) • เป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า (Efficiency principle) • หน่วยงานรับผิดชอบมีความพร้อมในการดำเนินงาน (Readiness principle) • มีการแก้ปัญหาแบบบูรณาการเพื่อทำให้เกิด impact และความยั่งยืน (Integration and Synergy) • ข้อเสนอมีรายละเอียด ข้อมูลประกอบ ครบถ้วนชัดเจน (Format compliance)
และอาจช่วยท่านแก้ปัญหาแบบนี้ ! • มีจำนวนโครงการเสนอมามากมาย ต้องคัดออก • รู้สึกว่าข้อเสนอโครงการไม่ค่อยจะถูกใจแต่ไม่รู้จะพูดแย้งอย่างไรให้เป็นที่ยอมรับ • มีเวลา และงบประมาณน้อยไม่สามารถทำ project feasibility study ได้ตามที่ควร แต่ต้องให้ความเห็น และตัดสินใจ • ต้องเสนอความเห็นในที่ประชุมโดยเร็วเกี่ยวกับความเหมาะสมของ กลยุทธ/แผนงาน/โครงการ/มาตรการ/ หรือข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาบางประการ
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 1/6 วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ในสถานการณ์ที่มีข้อเสนอให้ต้องพิจารณาตัดสินใจบนข้อจำกัด • เพื่อการพิจารณาข้อเสนอโครงการ หรือการจัดสรรงบประมาณ ที่รวดเร็ว • เพื่อให้การพิจารณา ของเจ้าหน้าที่ภายใต้ข้อจำกัดของข้อมูล และเวลายังคงเป็นไปตามหลักวิชาการ มีความกระชับในประเด็น และง่ายแก่เจ้าหน้าที่ในการตั้งคำถาม
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 2/6 • หลักประสิทธิผล (Effectiveness Principle) • หลักประสิทธิภาพ (Efficiency Principle) • หลักความพร้อมขององค์กรในการนำไปปฏิบัติ (Readiness Principle)
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 3/6 I-OO Logical linkage 1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness Principle) หลักนี้เป็นหลักประการแรกที่ต้องคำนึงถึง ประเด็นคำถามสำคัญในการวิเคราะห์ คือ การตอบคำถาม ที่ว่า “โครงการ/แผนงาน” นั้น จะนำไปสู่ “วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมาย” ที่ต้องการหรือไม่ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเด็นย่อย คือ Input 1 Output1 Outcome1 ProjectManagement and Its Activities Input 2 Output2 Outcome2 Input 3 Output3 Outcome3 O-O-Dr Logical linkage Output-Outcome-Desired result กับ นโยบาย/กรอบยุทธศาสตร์/ภาพรวมของแผนงานใหญ่ กิจกรรมที่จะทำจะนำไปสู่ Output/Outcome ที่ต้องการ หรือกำหนดไว้เป็นวัตถุประสงค์หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งความเป็นเอกภาพ หรือซ้ำซ้อนของกิจกรรมภายในโครงการ
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 4/6 2. หลักประสิทธิภาพ (Efficiency Principle) หลักนี้ จะเป็นการตอบคำถามที่ว่า โครงการ/แผนงาน นั้น มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าหรือไม่ รวมทั้งเป็นไปตามข้อกำหนดในการดำเนินงานที่จำเป็นจะต้องมี เช่น การมีส่วนร่วมของ Stakeholder บางกลุ่ม เป็นต้น Results Resources Input 1 Output1 Outcome1 ProjectManagement and Its Activities Input 2 Output2 Outcome2 Input 3 Output3 Outcome3 Efficiency = Results/Resources, or Outputs/Inputs
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 5/6 3. หลักความพร้อมขององค์กรในการนำไปปฏิบัติ (Readiness Principle) หลักนี้ หมายถึงการพิจารณาว่า หน่วยงาน/องค์กร ที่จะนำโครงการ/แผนงานไปปฏิบัตินั้น มีความพร้อมและชัดเจนในการเตรียมงานเพียงใด เพื่อตอบคำถามว่า แล้วมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดที่จะทำให้เกิดผลตามแผนที่วางไว้ได้หรือไม่ Input 1 Output1 Outcome1 ProjectManagement and Its Activities Input 2 Output2 Outcome2 Input 3 Output3 Outcome3
หลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการหลักการตั้งคำถามอย่างง่ายเพื่อการวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ 6/6 โดยสรุป ในการวิเคราะห์แต่ละครั้ง จะมุ่งเพื่อตอบคำถามว่า โครงการนั้น จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการหรือไม่ หากใช่ แล้วคุ้มค่าที่จะดำเนินการหรือเปล่า หากคุ้มค่า หรือยอมรับว่าต้องขาดทุนบ้าง แต่จำเป็นต้องทำ ก็ดูว่า แล้วหน่วยงาน หรือองค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบ มีความพร้อม/ความสามารถ และมีความตั้งใจที่จะดำเนินการ ให้ได้ผลสำเร็จตามแผนมากน้อยเพียงใด
suriyon@nesdb.go.th ขอบคุณ