231 likes | 597 Views
แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. ภก.ภาณุโชติ ทองยัง คณะทำงานจัดทำแนวทางการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. แนวคิด หลักการ. ไม่ใช่การย่อขนาดงาน อย./กรมวิทย์/สสจ / รพช.
E N D
แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภก.ภาณุโชติ ทองยัง คณะทำงานจัดทำแนวทางการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวคิด หลักการ • ไม่ใช่การย่อขนาดงาน อย./กรมวิทย์/สสจ / รพช. • ไม่ใช่การสั่งการให้ทำโดยพื้นที่ไม่มีส่วนร่วม • เชิงรุก เชื่อมโยง ชุมชน
การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำอะไร ?
กลุ่มไหน ใครเป็นเหยื่อ ?
เด็กในชุมชนก็เป็นเหยื่อเด็กในชุมชนก็เป็นเหยื่อ เลนส์ตาโต (Big Eye) ครีมหน้าขาวมาทารักแร้ นัยน์ตาใสกิ๊ง
การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำเพื่อใคร ?
ประชาชนในชุมชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์ สุขภาพต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ภายใต้บริบทที่สำคัญ เชิงรุก เชื่อมโยง ชุมชน
การคุ้มครองผู้บริโภค งานที่ไม่ใช่งาน ( เพราะมันคือการลดความเสี่ยง ของเราและคนในชุมชนของเราเอง )
มุ่งเน้นรูปแบบการทำงานมุ่งเน้นรูปแบบการทำงาน “เชิงรุก” โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้องและจำเป็น เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพต่างๆเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงจากอันตรายต่างๆ จัดกระบวนการ “เชื่อมโยง” เพื่อให้ภาคีเครือข่าย/ประชาชน ในชุมชน มีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความเสี่ยงให้กับตนเอง - ครอบครัว – ไปจนถึง “ชุมชน” ในรูปแบบเครือข่าย องค์กรผู้บริโภคในชุมชน
ผลลัพธ์ของงาน มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน) มีเครือข่ายผู้บริโภคที่เข้มแข็ง มีระบบเฝ้าระวังและบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมายสุดท้าย ชุมชนมีความเข้มแข็ง และอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข
การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำอย่างไร ?
แนวทางการดำเนินงาน 1. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล (พื้นฐาน-ผลงาน-วิชาการ) 2. การพัฒนาศักยภาพ (Empowerment) 2.1 ส่งเสริมและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชน 2.2 การพัฒนาสถานประกอบการในชุมชนให้ได้มาตรฐาน 3. การเฝ้าระวังและบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk management) 3.1 การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) 3.2 การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) 3.3 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication)
เครื่องมือ/ตัวช่วยในการปฏิบัติงานเครื่องมือ/ตัวช่วยในการปฏิบัติงาน ชุดความรู้เบื้องต้น (ยา , อาหาร , สถานพยาบาล , ฉลาก , โฆษณา ฯลฯ) แบบฟอร์มต่างๆ(ทำเนียบ , สำรวจครัวเรือน-ชุมชน-เครือข่าย , ตรวจโฆษณา ) ชุดทดสอบเบื้องต้น (โดยการประสานงานในพื้นที่ในแต่ละกรณี) อสม. (หลักสูตร อสม.คุ้มครองผู้บริโภค) เภสัชกร (ปฐมภูมิ / รพ.ชุมชน) ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน (ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในจังหวัด)
แนะนำการใช้คู่มือ • บทบาทของเภสัชกร • เอกสารประกอบการสอน • วัตถุประสงค์ • คำอธิบายเนื้อหา • รูปแบบและสื่อประกอบการสอน • CD (ไฟล์ Power point)
เนื้อหา • หลักสูตร การอบรมเจ้าหน้าที่ รพ.สต. (การปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ) • แนวคิดและหลักการการดำเนินงาน คบส. ใน รพ.สต. • กฎหมายเบื้องต้นเกี่ยวกับการดำเนินงาน คบส. • การเฝ้าระวังฉลาก/โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพฯในชุมชน • ฝึกปฎิบัติการ
ภาคผนวก • คำแนะนำในการจัดเวทีอบรมแบบมีส่วนร่วม • กรณีศึกษา • การเฝ้าระวังฉลากและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ • เรื่องร้องทุกข์จากผลิตภัณฑ์ยา • เรื่องร้องทุกข์จากผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง • แบบฟอร์ม • แบบทดสอบการเป็นนักเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ที่น่าสงสัย • (ตัวอย่าง) บันทึกการรับเรื่องร้องเรียน • ตรวจสอบ 4 ข้อ ก่อนเชื่อโฆษณา
การพัฒนาในอนาคต • ประเมินผลการใช้คู่มือ • เภสัชกร • เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน • พัฒนาคู่มือ • คบส. ใน รพ.สต. • คบส. ใน รพ.ชุมชน • พัฒนาคน • เครือข่ายการทำงาน คบส.
เชื่อมั่นในศักยภาพและสิ่งดีงามที่เราจะได้ทำร่วมกันและขอขอบคุณแทนผู้บริโภคในชุมชนของเราทุกคนเชื่อมั่นในศักยภาพและสิ่งดีงามที่เราจะได้ทำร่วมกันและขอขอบคุณแทนผู้บริโภคในชุมชนของเราทุกคน