360 likes | 738 Views
การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก ด้าน การจัดการความปวด หลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น นิตยา บุตรประเสริฐ งานการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลวานรนิวาส. Major surgery.
E N D
การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก ด้านการจัดการความปวด หลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น นิตยา บุตรประเสริฐ งานการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลวานรนิวาส
Major surgery ความปวดแผลผ่าตัดเป็นความปวดเฉียบพลันที่ผู้ป่วยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากเนื้อเยื่อและเส้นประสาทได้รับอันตรายจากการที่ศัลยแพทย์ใช้มีดผ่าตัดกรีดผิวหนังและเนื้อเยื่อทำให้ปลายประสาทรับความรู้สึกปวดบริเวณเหล่านี้ถูกกระตุ้นผู้ป่วยหลังผ่าตัดใหญ่ร้อยละ 90 มีความปวดแผลผ่าตัดในระดับรุนแรงมากใน 24 - 48 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดจากนั้นจะลดลงใน 48 - 72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด
ความสำคัญ และที่มา ปี 2560 ผ่าตัด 2,723 ราย ปี 2561 ผ่าตัด 2,690 ราย ปี 2559 ผ่าตัด 2,473 ราย สถิติผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดงานห้องผ่าตัดโรงพยาบาลวานรนิวาส มีการขยายบริการให้การผ่าตัดที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยแพทย์เฉพาะทางจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดมีจำนวนเพิ่มขึ้นและแนวโน้มในอนาคตจะมีจำนวนผู้ป่วยเข้ารับบริการเพิ่มขึ้น
ทำไม... ??? ถึงต้องมีแนวปฏิบัติทางการพยาบาล ในการจัดการความปวดหลังผ่าตัด 1 2 ความปวดหลังผ่าตัดเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหลังผ่าตัดทุกราย และเป็นสภาวการณ์ที่ ไม่เข้าใจวิธีการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ความปวดหลังผ่าตัดเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหลังผ่าตัดทุกราย และเป็นสภาวการณ์ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ส่งผลกระทบด้านจิตใจ และอารมณ์ ไม่เข้าใจวิธีการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ความสำคัญ และที่มา บุคลากรขาดการประเมินความปวดอย่างต่อเนื่องสาเหตุมาจากขาดการบันทึกและภาระงานมาก บุคลากรมีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน 3 4
วัตถุประสงค์ 1 2 เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังการผ่าตัด การใช้ยาบรรเทาความปวดของผู้ป่วยหลังการผ่าตัด 2.1 เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังการผ่าตัดในประเด็น ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการดูแลที่ได้รับในการจัดการความปวดหลังการผ่าตัด 2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของวิสัญญีพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพต่อการใช้แนวปฏิบัติ 2.3
ระเบียบวิธีวิจัย วิธีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนาโดยพัฒนาและศึกษาผลลัพธ์แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังการผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยหลังผ่าตัดใหญ่ ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป และมีน้ำหนักมากกว่า 30 กิโลกรัม ได้รับการวางแผนการผ่าตัดชนิดรอได้ . สถานที่ ระยะเวลาดำเนินการ เครื่องมือ งานห้องผ่าตัด โรงพยาบาลวานรนิวาส ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2562 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2562 1. แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังผ่าตัด 2. แบบบันทึกการจัดการความปวดที่ห้องพักฟื้น 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ผู้ใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดหลังผ่าตัด
วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 1 ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติ 4 1 การกำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการพัฒนา การกำหนดผลลัพธ์ทางสุขภาพ เช่น การใช้ยา ความพึงพอใจของผู้ป่วย . กำหนดทีมพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังการผ่าตัด 2 5 สืบค้นและประเมินคุณภาพหลักฐานเชิงประจักษ์เช่น pain, pain management เป็นต้น 3 6 ผู้วิจัย และทีมพัฒนาประชุมร่วมกันในการกำหนดแนวปฏิบัติทางคลินิกบนหลักฐานเชิงประจักษ์ กำหนดวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก
วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 2 ระยะดำเนินการใช้แนวปฏิบัติ กำหนดให้วิสัญญีพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ เป็นเวลา 1 เดือน เผยแพร่แนวปฏิบัติทางคลินิกให้แก่ วิสัญญีพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพ จัดบอร์ดวิชาการให้ความรู้ การประเมินผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก จัดทำคู่มือการจัดการความปวด จัดเตรียมแบบบันทึกต่าง ๆ ในประวัติผู้ป่วย ติดตามและกำกับระหว่างในการประชุมรับส่งเวร
แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านจัดการความปวดระยะก่อนให้ยาระงับความรู้สึกแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านจัดการความปวดระยะก่อนให้ยาระงับความรู้สึก ในระยะก่อนให้ยาระงับความรู้สึก 01 02 03 04 ประเมินความคาดหวังของผู้ป่วยเกี่ยวกับความเจ็บปวดหลังผ่าตัด ผู้ป่วยที่ได้รับการวางแผนด้วยการให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไป วิสัญญีพยาบาลเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 1 วัน ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความปวดและการจัดการความปวดหลังผ่าตัด
วางแผนร่วมกันก่อนวันผ่าตัด1 วัน มีการวางแผนร่วมกันตั้งแต่ก่อนวันผ่าตัด1 วัน ครอบคลุมไปถึงการให้ข้อมูลการดูแลการพยาบาลระยะหลังการผ่าตัดเมื่อครบ 24 ชั่วโมงแรก และเมื่อครบ 48 ชั่วโมง ตามลำดับ มีการใช้แบบประเมินความปวด และการจัดการกับความปวดทั้งโดยการใช้ยา และไม่ใช้ยา
แนวปฏิบัติทางคลินิก ด้านจัดการความปวดในระยะให้ยาระงับความรู้สึก 04 05 01 02 03 ให้ข้อมูลผู้ป่วยซ้ำถึงวิธีการให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปโดยผู้ป่วยจะได้รับยาระงับความรู้สึกและยาระงับปวดระหว่างการผ่าตัด ใช้วิธีการระงับปวดที่สมดุลmultimodal or balanced analgesia โดยการให้ยาระงับความวิตกกังวลและยาระงับปวดในระหว่างการผ่าตัด ประเมินผู้ป่วยเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนและเลือกใช้ยาระงับความรู้สึกและยาระงับปวดในระหว่างการผ่าตัด ใช้วิธี Pre- emptive analgesia คือ การให้ยาระงับความรู้สึกนำก่อนที่จะเริ่มการผ่าตัด เฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยตลอดระยะเวลาผ่าตัดว่าผู้ป่วยมีการตอบสนองต่อการให้ยาระงับความรู้สึกและยาระงับปวดเพียงพอหรือไม่
ใช้วิธีการระงับปวดที่สมดุลMultimodal or Balanced analgesia GA Balance โดยการให้ยาระงับความวิตกกังวลและยาระงับปวดในระหว่างการผ่าตัดและเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยตลอดระยะเวลาผ่าตัดว่าผู้ป่วยมีการตอบสนองต่อการให้ยาระงับความรู้สึกและยาระงับปวดเพียงพอหรือไม่
ติดตามอาการต่อเนื่อง ขณะอยู่ในห้องพักฟื้น การดูแลแบบองค์รวมทั้งยังเป็นการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการพยาบาล ซึ่งจะมีผลทำให้จำนวนวันนอนโรงพยาบาลลดลง ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลลดลง เกิดความคุ้มค่าคุ้มทุนในการรักษาพยาบาล
PAIN SCALE Worst Pain Possible No Pain Mild Pain Moderate Pain Moderate Pain Severe Pain ผู้ป่วยหลังผ่าตัดใหญ่ร้อยละ 90 มีความปวดแผลผ่าตัดในระดับรุนแรงมาก ใน 24 - 48 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดจากนั้นจะลดลงใน 48 - 72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด
PAIN SCALE Worst Pain Possible No Pain Mild Pain Moderate Pain Moderate Pain Severe Pain ไม่ใช้ยาสร้างสัมพันธภาพ, ให้ข้อมูล, จัดท่าทางให้ผ่อนคลาย, Deep breating exercise, Effective cough
PAIN SCALE Worst Pain Possible No Pain Mild Pain Moderate Pain Moderate Pain Severe Pain ไม่ใช้ยา Deep breating exercise, Effective cough เทคนิคการผ่อนคลายทั่วร่างกาย, สมาธิ, นวด
PAIN SCALE Worst Pain Possible No Pain Mild Pain Moderate Pain Moderate Pain Severe Pain RR > 10 bpm, Sedation score < 2, ไม่มี Hypotension ให้ยา
ระยะที่ 3 ประเมินผล ผู้ป่วยทั้งหมด 19 รายให้ยาแก้ปวด 5 รายคิดเป็น 26%ไม่ให้ยาแก้ปวด 14 รายคิดเป็น 74% แนะนำการจัดการความปวดโดย การสร้างสัมพันธภาพ การให้ข้อมูล การจัดท่าทางให้ผ่อนคลาย Deep breathing excercise, Effective cough
คะแนนความปวดเฉลี่ย 4.74 3.74 3.21 การใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการศึกษาครั้งนี้พบว่าผู้ป่วยได้รับการประเมินอาการปวดครบทุกคนในขณะแรกรับ, หลังได้รับยาแก้ปวด 5 นาที และก่อนจําหน่ายออกจากห้องพักฟื้น พบว่ามีคะแนนความปวดเฉลี่ยลดลง จาก 4.74, 3.74 และ 3.21 ตามลำดับ
ร้อยละความคิดเห็นต่อการใช้แนวปฏิบัติร้อยละความคิดเห็นต่อการใช้แนวปฏิบัติ ค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจของวิสัญญีพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับมากอธิบายได้ว่า แนวปฏิบัติมีความชัดเจน ทําให้มีการปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการความปวดทําให้เกิดผลดีในการดูแลผู้ป่วยมากกว่าการปฏิบัติอยู่ทุกวันเจ้าหน้าที่พยาบาลมีความพึงพอใจมากขึ้น
การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจำการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจำ • ทำให้มีแนวทางในการปฏิบัติด้านการจัดการความปวด และดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้นอย่างมีมาตรฐาน บุคลากรมีความมั่นใจในการปฏิบัติมากขึ้น ผู้ป่วยได้รับการจัดการความปวดและมีความพึงพอใจมากขึ้นความพึงพอใจของผู้ป่วยที่เข้ารับบริการห้องผ่าตัด 86.8 %
บทเรียนที่ได้รับและปัจจัยแห่งความสำเร็จบทเรียนที่ได้รับและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ได้สืบค้น ทบทวนวรรณกรรมที่เป็นระบบมากขึ้น ได้เรียนรู้การนำปัญหาหน้างานมาพัฒนาด้วยกระบวนการวิจัย เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาที่แท้จริง 1 ผู้บริหารโรงพยาบาลและหัวหน้างานห้องผ่าตัดและงานวิสัญญีให้การ สนับสนุน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ และระบบเทคโนโลยี เพื่อให้สะดวกต่อการพัฒนางาน 2 มีการสนับสนุนการพัฒนางานโดยทีมพยาบาลวิสัญญี และงานห้องผ่าตัด 3
ข้อเสนอแนะ ควรมีการทบทวนการใช้แนวทางปฏิบัติเป็นระยะ 01 การจัดการความปวดหลังผ่าตัด จะได้ผลดีต้องให้การดูแลรักษาร่วมกันเป็นทีม 02