1 / 15

การบริหารความขัดแย้ง

การบริหารความขัดแย้ง. ความขัดแย้ง( conflict ) คือ. สภาพของความไม่ราบรื่นที่เกิดขึ้น ภายในตัวบุคคล ระหว่างบุคคล หรือระหว่างกลุ่ม เนื่องจากมีความต้องการหรือผลประโยชน์ขัดแย้งกัน และไม่สามารถตัดสินใจหรือหาข้อตกลงร่วมกันได้. ชนิดของความขัดแย้ง. ความขัดแย้งภายในตัวเอง

love
Download Presentation

การบริหารความขัดแย้ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความขัดแย้ง

  2. ความขัดแย้ง(conflict) คือ สภาพของความไม่ราบรื่นที่เกิดขึ้น ภายในตัวบุคคล ระหว่างบุคคล หรือระหว่างกลุ่ม เนื่องจากมีความต้องการหรือผลประโยชน์ขัดแย้งกัน และไม่สามารถตัดสินใจหรือหาข้อตกลงร่วมกันได้

  3. ชนิดของความขัดแย้ง

  4. ความขัดแย้งภายในตัวเองความขัดแย้งภายในตัวเอง (Self Conflict)

  5. 1.1 ความขัดแย้งแบบดึงดูด – ดึงดูด (Approach – Approach Conflict) “รักพี่เสียดายน้อง”

  6. 1.2 ความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยง – หลีกเลี่ยง (Avoidance – Avoidance Conflict) “หนีเสือปะจรเข้”

  7. 1.3 ความขัดแย้งแบบดึงดูด – หลีกเลี่ยง (Approach – Avoidance Conflict) “อยากจะลงไปเด็ดบัว แต่ก็กลัวเปียกน้ำ”

  8. 2. ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict)

  9. 3.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม3.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (IntergroupConflict)

  10. ลักษณะและพฤติกรรม ที่เกิดความขัดแย้ง

  11. 1. สมาชิกขาดความร่วมมือและประสานงานกัน 2. สมาชิกคำนึงถึงเป้าหมายส่วนตนมากกว่าเป้าหมายร่วมของกลุ่ม 3. มีการเกี่ยงงอนหรือแก่งแย้งหน้าที่และความรับผิดชอบ กันอยู่เสมอ 4. สมาชิกไม่กลัวเกรงกฎ ระเบียบ และบรรทัดฐานของกลุ่ม 5. สมาชิกย่อท้อ ไม่ทุ่มเท กำลังกายกำลังใจ สติปัญญาและเวลา เพื่อกลุ่มอย่างเต็มที่ 6. มีการชิงดีชิงเด่นกันอยู่เป็นประจำ

  12. 7. บรรยากาศในการทำงานเต็มไปด้วยความอิจฉาริษยา เงียบเหงา วังเวง ขาดการติดต่อสื่อสาร 8. ขาดความมั่นคงในงาน สมาชิกเบื่อหน่ายการทำงาน 9.สมาชิกต่างเสนอวิธีการหลากหลายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและต่างก็ยืนยันว่าวิธีการของตนดีกว่า โดยไม่ยอมลดราวาศอก 10. เรื่องความขัดแย้งกระทบกระทั่งกันเล็กน้อยของสมาชิกมักจะบานปลายเป็นทำนอง “น้ำผึ้งหยดเดียว”

  13. สาเหตุแห่งความขัดแย้งสาเหตุแห่งความขัดแย้ง

  14. 1.ความขัดแย้งทางด้านบุคลิกภาพ ค่านิยม ความคิด และประสบการณ์ 2.ความแตกต่างทางด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 3.ความเข้าใจในเรื่องข้อมูลและข้อเท็จจริงไม่ตรงกัน 4. การกำหนดหน้าที่ในงานไม่ชัดเจน 5. การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรและผลประโยชน์

  15. 6. ความขัดแย้งในเรื่องวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 7. ความขัดแย้งเกี่ยวกับวิธีปฎิบัติ 8. ผลประโยชน์ขัดกัน 9.โครงสร้างขององค์กรไม่ชัดเจน 10.ขาดการสื่อสารที่ดี

More Related